ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวสะเต็มศึกษา เพื่อส่งเสริมความสามารถในการแก้ปัญหา เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียงกับการพัฒนาประเทศ กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3
Main Article Content
Abstract
This research employed a quasi-experimental design to examine learning achievement, problem-solving abilities, and attitudes of Mathayomsuksa 3 students toward STEM education learning management on the topic of sufficiency economy and country development, and to compare with the learning achievement and problem-solving skills of students learning through a conventional approach. The research instruments consisted of 1) lesson plans, 2) a learning achievement test, 3) a problem-solving skill test, and 4) an attitude test. The samples for this research were Mathayomsuksa 3 students from two classes studying at Datdarunee School in the second semester of the academic year 2017. The students were assigned to experimental group and control groups obtaining through cluster random sampling.
The findings were as follows:
- In terms of learning achievement, the experimental group students’ mean scores were 23.79 points of 30 points.
- When comparing students’ learning achievement, the experimental group students had higher learning achievement than students learning through a conventional approach at a statistical significance level of .05.
- In terms of problem-solving abilities, the experimental group students gained mean scores 6.44 points of 8 points.
- When the mean scores of the experimental group students and the control group students were compared, the problem-solving abilities of the experimental group students were higher than the control group students at a statistical significance level of .05.
- The experimental group students reached mean scores of 4.5 points of 5 points with respect to attitudes, showing positive attitudes toward the developed STEM education learning management.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
กระทรวงศึกษาธิการ. (2552). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
กุลธิดา สิงห์สี. (2556). อุดมศึกษาไทยในอาเซียน รูปแบบ แนวโน้ม และทิศทางการปรับตัวในอนาคต. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 2(2), 13-23.
เกตุมณี เหมรา. (2558). การจัดกิจกรรมสะเต็มศึกษาเรื่องของดีเมืองร้อยเอ็ดเพื่อพัฒนาความสามารถในการการแก้ปัญหาของเด็กปฐมวัย. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ชนัฎดา ภูโปร่ง. (2560). การจัดการเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษา STEM Education เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์และเจตคติต่อวิชาวิทยาศาสตร์ของนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2 ในชั้นเรียนวิทยาศาสตร์. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
นงนุช เอกตระกูล. (2558). การพัฒนาการจัดการเรียนรู้แบบ STEM เพื่อเพิ่มผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ (CPS) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพฯ: โรงเรียนอัสสัมชัญธนบุรี.
นัสรินทร์ บือซา. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษา (STEM Education)ที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนชีววิทยา ความสามารถในการแก้ปัญหาและความพึงพอใจต่อการจัดการเรียนรู้ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
ประภานี ราญมีชัย. (2561). การเปรียบเทียบผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ในรูปแบบสะเต็มศึกษา เรื่องไฟฟ้าเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ วท.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.
พลศักดิ์ แสงพรหมศรี. (2558). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร์ขั้นบูรณาการและเจตคติต่อการเรียนวิชาเคมีของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5 ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษากับแบบปกติ. วิทยานิพนธ์ วท.ม. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ราวรรณ์ ทิลานันท์. (2558). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบโครงงานสะเต็มศึกษาที่มีต่อผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิทยาศาสตร์และความสามารถด้านความคิดสร้างสรรค์ทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ วท.ม. นครสวรรค์: มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: อาร์ แอนด์ ปริ้นท์.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). สะเต็มศึกษา (STEM Education). กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาสตร์และเทคโนโลยี. (2557). เอกสารกิจกรรมสะเต็ม ระดับประถมศึกษาปีที่ 4-6. กรุงเทพฯ: คุรุสภาลาดพร้าว.
สุพรรณี ชาญประเสริฐ. (2556). การจัดการเรียนรูวิทยาศาสตร์และทักษะที่จําเป็นในศตวรรษที่ 21. สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.), 42(185), 10-13.
อรวลัญช์ ผ่องบุรุษ. (2559). การเสริมสร้างความคิดสร้างสรรค์และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4 เรื่อง สมบัติบางประการของของเหลวและสารละลายโดยใช้วิธีการสอนแบบ STEM ศึกษา. วิทยานิพนธ์ วท.ม. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
Scott, C. (2012). An Investigation of Science, Technology, Engineering and Mathematics (STEM) Focused High School in the U.S. .Journal of STEM Education. Available from http://ojs.jstem.org/index.php?journal= JSTEM&page=article&op=view&path[]=1629&path[]=1493. January 10th, 2019.
JJ Weir. (1974). Problem solving is everybody's Problem. The Science Teacher, 4, 16-18.