ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เรื่อง การแปรรูปผลผลิตทางการเกษตร กลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพและเทคโนโลยี ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1
Main Article Content
Abstract
The purposes of this research were to compare pretest and posttest scores and problem solving abilities before and after studying through problem - based learning activities on the topic of processing agricultural product, in the Career and Technology Learning Substance Group for Mathayomsuksa 1 level, and to examine the group work process of Mathayomsuksa 1 students after learning through the developed learning activities.The sample consisted of 39 Mathayomsuksa 1 students at Bansrimaharacha Municipality school, Chonburi Province, selected by cluster random sampling. The research instruments were lesson plans, an achievement test, a problem-solving ability test, and a group work observation form. The data were analyzed by using Dependent samples t-test to compare the difference of pretest and posttest scores, and problem-solving ability before and after intervention. In addition, an analysis of group work behaviors was conducted through mean and standard deviation.
The research findings were as follows:
- The posttest scores after the intervention of Mathayomsuksa 1 students was significantly higher than those of before learning at a statistical significance of .05 level.
- The problem-solving abilities of students after the intervention was significantly higher than those of before learning at a statistical significance of .05 level.
- The student group work after the intervention has increased and was at a good level.
Article Details
บทความทุกบทความที่ตีพิมพ์ในวารสารบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร ถือว่าเป็นลิขสิทธิ์ของบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร
References
ทิศนา แขมมณี. (2545). กลุ่มสัมพันธ์เพื่อการทำงานการจัดการเรียนการสอน. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: นิชินแอดเวอร์ไทซิ่งกรู๊ฟ.
ทิศนา แขมมณี. (2555). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 15). กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
นนนทจร ธีรปัญญาภรณ์. (2560, 8 กันยายน). ครู ค.ศ. 1. สัมภาษณ์.
ปทุมรัตน์ อาวุโสสกุล. (2557). ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้วิชาชีววิทยาโดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อส่งเสริมผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาชีววิทยาและความสามารถในการแก้ปัญหาสำหรับนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี:มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชรินทร์ ชูกลิ่น. (2554). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐานวิชาชีววิทยาของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
พิมพ์ใจ เกตุการณ์. (2558). ผลการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐานเพื่อพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชา วิทยาศาสตร์ ความสามารถการแก้ปัญหา และเจตคติทางวิทยาศาสตร์ของนักเรียน
ชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
ไพศาล วรคำ. (2555). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 5). มหาสารคราม: ตักศิลาการพิมพ์.
โรงเรียนเทศบาลบ้านศรีมหาราชา. (2558). รายงานการประเมินตนเอง. ประจำปีการศึกษา 2558. ชลบุรี: โรงเรียนเทศบาล
บ้านศรีมหาราชา.
วัลลี สัตยาศัย. (2547). การเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นหลัก : รูปแบบการเรียนรู้โดยผู้เรียนเป็นศูนย์กลาง. (พิมพ์ครั้งที่1). กรุงเทพฯ:
บริษัทบุ๊คเน็ท.
วงเดือน วงษ์พันธ์. (2551). ผลการใช้กิจกรรมการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้ เรื่อง เศรษฐกิจพอเพียง กลุ่ม สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม สำหรับ
นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. วิทยานิพนธ์ ค.ม. ลำปาง: มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง.
ศรัลยา วงเอี่ยม. (2558). การพัฒนาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและความสามารถในการคิดแก้ปัญหาทางวิทยาศาสตร์ วิชา ชีววิทยา เรื่อง สิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4
ที่ได้รับการจัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน.วิทยานิพนธ์ กศ.ม. ชลบุรี: มหาวิทยาลัย บูรพา.
สมพงษ์ จิตระดับ. (2530). การสอนจริยศึกษาในระดับประถมศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์.
สงวน สุทธิเลิศอรุณ. (2543). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ: ทิพยวิสุทธิ์.
สุภามาศ เทียนทอง. (2553). การพัฒนาความสามารถในการแก้ปัญหาของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่จัดการเรียนรู้โดยใช้ปัญหาเป็นฐาน. วิทยานิพนธ์ ศษ.ม. กรุงเทพ: มหาวิทยาลัย
ศิลปากร.
สำนักเลขาธิการสภาการศึกษา. (2550). แนวทางการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ : การเรียนรู้แบบใช้ปัญหาเป็นฐาน. กรุงเทพฯ: ชุมชนการเกษตรแห่งประเทศไทย.
สมโภชน์ อเนกสุข. (2559). การวิจัยทางการศึกษา. (พิมพ์ครั้งที่ 8). ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์มหาวิทยาลัยบูรพา.