สภาพ ปัญหา การใช้เทคโนโลยีดิจิทัลของผู้สูงอายุ ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดขอนแก่น

Main Article Content

สุภาวดี สุรรณเทน

Abstract

The purpose of this research were 1) to study capability and problem of elderly digital technology usage in Meuang District, Khon Khan Province. 2) to compared to capability and problem of elderly digital technology usage, group by sex, age, education, occupation before retry or occupation before 60 year old and income. Random sampling by Simple random. The sampling group was 400 elderly who were member of elderly clubs in municipality area, Khon Khan Province. The research instrument is the questionnaire. The statistics are percentages, mean, standard deviation, t-test, f-test. The research finding found that: 1) the most respondents are female that age between 60 – 64 years old. Level of education was bachelor. The occupation before retire was merchant and current occupation is merchant too that earning between 10,000 – 19,999 Baht. An elderly was staying with their family. 2) the technology literacy: elderly has ability to use digital technology, especially smartphone. Application capability at the middle level. Elderly access to digital technology with smartphone at highest level, followed by access with social media and computer, access to digital technology with tablet at the lowest level. 3) the comparison between capability and problem about usage of digital technology found that: female has capability in usage of application more than male but female has problem about access and usage of digital technology than male at the 0.05 level of significance. In additionally a significant differences in level of education, occupation before retire, mean salary per month and family situation that has significant differences capability and problem of usage digital technology at the 0.05 level of significance.

Article Details

Section
บทความวิจัย

References

กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). รายงานผลการสำรวจพฤติกรรมผู้ใช้อินเทอร์เน็ตในประเทศไทยปี 2559. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ : สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร. (2559). แผนพัฒนาดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ :กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร.
กันตพล บันทัดทอง (2557). พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์และความพึงพอใจของกลุ่มคนผู้สูงอายุ ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระ กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
ขวัญวิทย์ ตาน้อย. (2553). พฤติกรรมการใช้งานสังคมออนไลน์ของนักศึกษาระดับ ปริญญาตรี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี. วิทยานิพนธ์ บ.ม. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
จิรนัย จีรนัยธนวัฒน์, และวศิณ ชูประยูร. (2559). การวิเคราะห์จำแนกกลุ่มปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับและใช้แอปพลิเคชันไลน์ของผู้สูงอายุไทย. การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับบัณฑิตศึกษาแห่งชาติ ครั้งที่ 40 (หน้า 220-228). สงขลา: มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.
นรา จันชนะกิจ. (2548). ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการระหว่างครอบครัว สังคมและจิตลักษณะที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการใช้โทรศัพท์มือถืออย่างเหมาะสมของนักศึกษา. ภาคนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต กรุงเทพมหานคร: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
ปณิชา นิติพรมงคล. (2554). พฤติกรรมการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์ของคนวัยทำงานในเขตกรุงเทพมหานคร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีปทุม.
มูลนิธิสถาบันวิจัยและพัฒนาผู้สูงอายุไทย. (2559). สถานการณ์ผู้สูงอายุไทย:พ.ศ. :2558. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพมหานคร: อมรินทร์พริ้นติ้งแอนด์พับลิชชิ่ง.
วิศปัตย์ ชัยช่วย. (2560). การใช้ LINE ของผู้สูงอายุ: การศึกษาเชิงปรากฏการณ์วิทยา. วารสารวิชาการ Veridian E-Journal, 10(1), 905-918.
วิเชียร ชุติมาสกุล. (2557). การวิจัยเพื่อวางรากฐานและพัฒนาระบบอิเล็กทรอนิกส์เพื่อส่งเสริมคุณภาพชีวิตในสังคมผู้สูงอายุ. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี.
วิภาวรรณ ลิขิตเลิศล้ำ. (2560). การศึกษาความหมายและองค์ประกอบของการใช้เครือข่ายสังคมออนไลน์อย่างเหมาะสม บนแอพพลิเคชั่นไลน์ ของผู้สูงอายุในเขตกรุงเทพมหานคร. วารสารพฤติกรรมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. 9(2), 107-123.
สมาน ลอยฟ้า. (2557). พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของผู้ใหญ่ในเขตชนบท. อินฟอร์เมชั่น. 21(2), 18-28.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2558). รายงานเชิงวิเคราะห์เรื่องปัจจัยที่มีผลต่อการใช้อินเตอร์เน็ตสำหรับผู้สูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น.
สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2557). รายงานการสำรวจประชากรสูงอายุในประเทศไทย พ.ศ. 2557. กรุงเทพมหานคร: เท็กซ์ แอนด์ เจอร์นัล พับลิเคชั่น.
สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษามหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (2558). โครงการวิจัยยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้ของคนพิการ และผู้ด้อยโอกาส ในยุคหลอมรวมเทคโนโลยี. ในเอกสารประกอบการสัมมนาเอระดมความคิด กรอบแนวทางการจัดทำแผนยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพชีวิตและการเรียนรู้ของคนพิการ ผู้สูงอายุ และผู้ด้อยโอกาส ในยุคหลอมรวมเทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยและให้คำปรึกษาแห่งมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
สุรศักดิ์ มังสิงห์ และจารุวรรณ มณฑิราช. (2555). การศึกษาความต้องการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้สูงอายุในเขตพื้นที่กรุงเทพมหานคร. ในเอกสารการประชุมวิชาการระดับชาติมหาวิทยาลัยศรีปทุมประจำปี 2555. 26 ตุลาคม 2555. กรุงเทพมหานคร; (อัดสำเนา)
สิงหะ ฉวีสุข และสุนันทา วงศ์จตุรภัทร. (2555). ทฤษฏีการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศลาดกระบัง. 1(1).
สิทธิชัย คูเจริญสิน, ดุสิน ขาวเหลือง และมานพ แจ่มกระจ่าง. (2558). การศึกษาพฤติกรรมการใช้สื่อสังคมของผู้สูงอายุที่พักอาศัยในเขตอำเภอเมือง จังหวัดชลบุรี. วารสารการศึกษาและการพัฒนาสังคม. 11(2), 270-281.
อารีย์ มยังพงษ์ และเกื้อกูล ตาเย็น. (2559). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความต้องการเรียนรู้สื่อเทคโนโลยีของผู้สูงอายุในยุคหลอมรวมเทคโนโลยี. กรุงเทพมหานคร: คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
Best, John W. (1981). Research in education. Englewood Cliffs, N.J.: Prentice-Hall.