การวิเคราะห์สายธารคุณค่าด้วยเทคนิคการทำเหมืองกระบวนการ สำหรับปรับปรุงกระบวนการให้บริการในแผนกผู้ป่วยนอก
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุงกระบวนการให้บริการแผนกผู้ป่วยนอก ด้วยการวิเคราะห์สายธารคุณค่าโดยการนำเอาเทคนิคการทำเหมืองกระบวนการมาช่วยค้นหากระบวนการที่เกิดขึ้นจริงในการทำงาน ข้อมูลที่ใช้ในงานวิจัยนี้ได้จากการดึงข้อมูลจากระบบสารสนเทศของโรงพยาบาล โดยใช้กรณีศึกษาจากโรงพยาบาลของรัฐแห่งหนึ่ง งานวิจัยนี้ดำเนินการค้นหากระบวนการที่เกิดขึ้นจริงและสามารถเปรียบเทียบกระบวนการที่เกิดขึ้นจริงว่าถูกต้องตรงกับกระบวนการตามมาตรฐานการปฏิบัติงานที่กำหนดไว้หรือไม่ โดยใช้เทคนิคการทำเหมืองกระบวนการ นอกจากนี้ยังนำโมเดลที่ได้จากการทำเหมืองกระบวนการมาเป็นเครื่องมือช่วยวิเคราะห์สายธารคุณค่าสำหรับปรับปรุงกระบวนการ ผลการศึกษาวิจัยแสดงให้เห็นจุดที่ให้บริการล่าช้าส่งผลต่อระยะเวลาการให้บริการในภาพรวมที่ส่งผลเสียกับองค์กรและปัญหาความสูญเปล่าที่ส่งผลเสียกับองค์กร ผลการศึกษาวิจัยนี้นำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการให้ดีขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความและบทความในวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ เป็นแนวคิดของผู้เขียน ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ข้อความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาติเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการก่อนเท่านั้น
References
จิตต์ธนานันท์ กัญจน์นรี, เกษสมบูรณ์ นุศราพร, และนัดสถาพร นิวัฒน์. (2560). การใช้แผนที่สายธารคุณค่าเพื่อพัฒนากระบวนการเบิกจ่ายยาภายในโรงพยาบาลบรบือ จังหวัดมหาสารคาม. Isan Journal of Pharmaceutical Sciences, 13(4), 50-62.
Augusto, A., Deitz, T., Faux, N., Manski-Nankervis, J.-A., & Capurro, D. (2022). Process mining-driven analysis of covid-19’s impact on vaccination patterns. Journal of Biomedical Informatics, 130, 104081. https://doi.org/10.1016/j.jbi.2022.104081
Beerepoot, I., van de Weerd, I., & Reijers, H. A. (2019). The potential of workarounds for improving processes. Business Process Management Workshops, 338–350. doi:10.1007/978-3-030-37453-2_28
Gatta, R., Vallati, M., Fernandez-Llatas, C., Martinez-Millana, A., Orini, S., Sacchi, L., Lenkowicz, J., Marcos, M., Munoz-Gama, J., Cuendet, M. A., de Bari, B., Marco-Ruiz, L., Stefanini, A., Valero-Ramon, Z., Michielin, O., Lapinskas, T., Montvila, A., Martin, N., Tavazzi, E., & Castellano, M. (2020). What role can process mining play in recurrent clinical guidelines issues? A position paper. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(18), 6616. https://doi.org/10.3390/ijerph17186616
Gatta, R., Orini, S., & Vallati, M. (2022). Process mining in healthcare: Challenges and promising directions. Artificial Intelligence in Healthcare, 47-61. doi:10.1007/978-981-19-5272-2_2
Mabuto, T., Hansoti, B., Kerrigan, D., Mshweshwe‐Pakela, N., Kubeka, G., Charalambous, S., & Hoffmann, C. (2019). HIV testing services in healthcare facilities in South Africa: A missed opportunity. Journal of the International AIDS Society, 22(10). doi:10.1002/jia2.25367
Malin, J. J., Spinner, C. D., Janssens, U., Welte, T., Weber-Carstens, S., Schälte, G., Gastmeier, P., Langer, F., Wepler, M., Westhoff, M., Pfeifer, M., Rabe, K. F., Hoffmann, F., Böttiger, B. W., Weinmann-Menke, J., Kersten, A., Berlit, P., Krawczyk, M., Nehls, W., … Kluge, S. (2021). Key summary of german national treatment guidance for hospitalized COVID-19 patients. Infection, 50(1), 93-106. https://doi.org/10.1007/s15010-021-01645-2
Marin-Garcia, J. A., Garcia-Sabater, J. P., Ruiz, A., Maheut, J., & Garcia-Sabater, J. J. (2020). Operations management at the service of Health Care Management: Example of a proposal for action research to plan and schedule health resources in scenarios derived from the COVID-19 Outbreak. Journal of Industrial Engineering and Management, 13(2), 213. doi:10.3926/jiem.3190
Suárez-Barraza, M., & Miguel-Davila, J. (2020). Kaizen–Kata, a problem-solving approach to public service health care in Mexico. A multiple-case study. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(9), 3297. doi:10.3390/ijerph17093297
Taymouri, F., Rosa, M. L., Dumas, M., & Maggi, F. M. (2021). Business process variant analysis: Survey and Classification. Knowledge-Based Systems, 211, 106557.https://doi.org/10.1016/j.knosys.2020.106557
van der Aalst, W. M. (2011). Advanced process discovery techniques. Process Mining, 157-187. doi:10.1007/978-3-642-19345-3_6
Zepeda-Lugo, C., Tlapa, D., Baez-Lopez, Y., Limon-Romero, J., Ontiveros, S., Perez-Sanchez, A., & Tortorella, G. (2020). Assessing the impact of Lean Healthcare on Inpatient Care: A Systematic Review. International Journal of Environmental Research and Public Health, 17(15), 5609. doi:10.3390/ijerph17155609