นวัตกรรมการจัดการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงาน
Main Article Content
บทคัดย่อ
ในปัจจุบันองค์กรต่างๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน ให้ความสำคัญกับการพัฒนาศักยภาพในการทำงานของบุคลากรและส่งเสริมให้บุคลากรทำงานอย่างมีความสุข มุ่งสู่การพัฒนาคุณภาพชีวิตคนทำงาน โดยยึดแนวคิดด้านคุณภาพชีวิตของ Walton
8 ประการดังนี้ การได้รับค่าตอบแทนที่เพียงพอและยุติธรรม สภาพแวดล้อมการทำงานที่คำนึงถึงความปลอดภัยและส่งเสริมสุขภาพ ความมั่นคงและก้าวหน้าในงาน โอกาสในการพัฒนาความสามารถของบุคคล การบูรณาการทางสังคม ประชาธิปไตยในองค์การ ความสมดุลระหว่างงานกับชีวิตส่วนตัวและลักษณะงานที่เป็นประโยชน์แก่สังคม รวมถึงด้านปัจจัยจูงใจและปัจจัยค้ำจุน องค์ประกอบต่างๆ เหล่านี้ ล้วนมีความสำคัญกับการพัฒนาคุณภาพชีวิตของบุคลากร สู่องค์กรแห่งความสุข หรือ Happy Workplace ภายใต้ความสุขพื้นฐานแปดประการ บทความนี้เป็นการทบทวนวรรณกรรม เพื่อค้นหาการนำไปสู่นวัตกรรมการจัดการเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตการทำงานในองค์กรต่อไป จากการทบทวนวรรณกรรมสามารถสรุปได้ว่านวัตกรรมการจัดการ (Innovation Management) ได้แก่ กลยุทธ์นวัตกรรม (Innovation Strategy) บุคลากรและองค์การ (People and Organization) ความคิดสร้างสรรค์ (Ideas) การจัดลำดับความสำคัญ (Prioritization) และการนำไปปฏิบัติ (Implementation) โดยบุคลากรและองค์กรเป็นตัวขับเคลื่อนที่สำคัญ
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
ข้อความและบทความในวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ เป็นแนวคิดของผู้เขียน ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ข้อความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาติเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการก่อนเท่านั้น
References
ชัยอนันต์ รีชีวะ. (2544). การศึกษาคุณภาพชีวิตในการทำงานของบริษัทเอกชน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย.
ธนพล ก่อฐานะ (2555). Innovative Management นวัตกรรมการจัดการ. สืบค้น 10 มกราคม 2565,
จาก https://www.gotoknow.org/posts/506666
ธีร์ธรรม วุฑฒิวัตรชัยแก้ว, กฤษฎา ลดาสวรรค์, ทรงวุฒิ อัศวพฤกษชาติ, และปภัฎชมณ ฟูแสง. (2559).
กลยุทธ์เพื่อเสริมสร้างองค์กรแห่งความสุข. กรุงเทพฯ: แอทโฟร์พริ้นท์.
นราทิพย์ ผินประดับ. (2562). คุณภาพชีวิตในการทำงานของข้าราชการกรุงเทพมหานคร.
วารสาร มจร มนุษยศาสตร์ปริทรรศน์, 5(1), 171-180.
นเรนทร์ ชุติจิรรวงศ์. (2564). ออกแบบการทำงานเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดี. สืบค้น 10 มกราคม 2565,
จาก https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/970938
นิศาชล ฉัตรทอง. (2561). บริบทภาครัฐไทยกับการเข้าสู่องค์กรแห่งนวัตกรรม. วารสารสารสนเทศ, 17(1), 25-36.
ปฏิพัทธ์ เรืองพยุงศักดิ์. (2563). งานวิจัยเพื่อการวิเคราะห์ความเป็นองค์กรแห่งนวัตกรรม ของบริษัทสาขาในเครือองค์กรข้ามชาติ.
สารนิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยมหิดล.
ลตวรรณ ชยมงคล และไชยนันท์ ปัญญาศิริ. (2562). นวัตกรรมการจัดการของสายการบินไทยแอร์เอเชีย.
วารสารมนุษย์ศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม, 9(1), 118-125.
วันทนา เนาว์วัน และ อารมณ์ เอี่ยมประเสริฐ. (2563). การจัดการความเครียดและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดการคุณภาพชีวิต
ในการทำงาน. วารสารวิทยาการจัดการปริทัศน์, 22(1), 223-232.
สมบัติ กุสุมาวลี. (2563). นวัตกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิตในการทำงานของบุคลากรกรณีศึกษาโรงพยาบาลราชวิถี.
วารสารการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และองค์การ, 12(1), 113-141.
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. (2560). ยุทธศาสตร์บุคลากรเป็นเลิศ People Excellence Strategy.
กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข.
อรุณ ศรีระยับ, อรุณ รักธรรม, เพ็ญศรี ฉิรินัง, และชาญ ธาระวาส. (2563). คุณภาพชีวิตในการทำงานกับความผูกพันต่อองค์กร.
วารสารเครือข่ายส่งเสริมการวิจัยทางมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 3(3), 120-131.
อรุณี ไพศาลพาณิชย์กุล. (2560). องค์กรนวัตกรรม: มโนทัศน์และตัวแบบเชิงทฤษฎี.
วารสารพัฒนบริหารศาสตร์, 57(3), 158-184
เอกลักษณ์ ชุมภูชัย. (2561). การศึกษาคุณภาพชีวติในการทำงานที่ส่งผลต่อความผูกพัน ต่อองค์กรกรณศึกษา พนักงานที่ทำงาน
อยู่ภายในการดูแลของบริษัทสกิลพาวเวอร์ เซอร์วิส (ประเทศไทย)จำกัด (แมนพาวเวอร์สาขาลำพูน).
การค้นคว้าอิสระปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่.
เอสซีจี. วิสัยทัศน์เอสซีจี. สืบค้น 2 เมษายน 2565, จาก https://www.scg.com/landing/index.html.
Davis, L. E. (1997). Enhancing the quality of working life: developments in the United Stater.
International Labour Review. 116, pp. 53-65.
Hackman, J. R. and Suttle, L. J. (1977). Improving Life at Work: Behavioral Science Approaches to Organizational
Change. Santa Monica, California: Goodyear Publishing.
Hamel, G. (2007). The Future of Management. Harvard Business School, 2007Press.
Herzberh, F., Mausner, B., & Synderman, B. (1959). The Motivation to work. NY: John Wiley.
Keith, G., & Rick, M. (2005). Innovation Management: Strategy and implementation Using the Pentathlon
Framework. NY: Palgrave Macmillan.
Maslow, A. H. (1943). A theory of human motivation. Psychological Review, 50(4), 370-96.
McElroy, M. 2000. Using knowledge management to sustain innovation: Moving toward second generation
knowledge management. Knowledge Management Review, 3(4), 34-37.
Merton, H. C. (1977). A Look at factors affecting the quality of working life. Monthly Labour Review. 100, 55.
Porter, M. (1990). The Competitive Advantage of Nations. London: The Free Press.
International Business, March-April 1990 Issue.
Walton, R. E. (1973). Quality of Working Lift: What Is It?. Stone Management Review, 14(2), 11-12.