การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการบริหารงานวิชาการ เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ยุคดิจิทัลในสถานศึกษา

Main Article Content

รัชนก มีชูขันธ์
สมใจ สืบเสาะ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการบริหารงานวิชาการ เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ยุคดิจิทัลในสถานศึกษา 2) เปรียบเทียบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการบริหารงานวิชาการ เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ยุคดิจิทัลในสถานศึกษาจำแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน 3) ศึกษาแนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ยุคดิจิทัลในสถานศึกษา กลุ่มตัวอย่างจำนวน 322 คน เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามและแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบสมมติฐานด้วย t-test และวิเคราะห์ความแปรปรวน


            ผลการวิจัยพบว่า 1) การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการบริหารงานวิชาการ เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ยุคดิจิทัลในสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับมาก 2) เปรียบเทียบการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการบริหารงานวิชาการ เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ยุคดิจิทัลในสถานศึกษาจำแนกตามเพศ วุฒิการศึกษา และประสบการณ์ในการทำงาน แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 3) แนวทางการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในการบริหารงานวิชาการ เพื่อการส่งเสริมการเรียนรู้ยุคดิจิทัลในสถานศึกษา ภาพรวมอยู่ในระดับเหมาะสมมากที่สุด สถานศึกษาควรจัดเครื่องมือและอุปกรณ์คอมพิวเตอร์ที่สามารถการเชื่อมโยงเครือข่ายระบบข้อมูลสารสนเทศอย่างมีคุณภาพ ส่งเสริมให้มีการพัฒนานวัตกรรมใหม่ ๆ มีกระบวนการเรียนรู้ การวัดและประเมินผลให้สอดดคล้องกับการเรียนรู้ในยุคดิจิทัล

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงแรงงาน, (2559). แผนแม่บทเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ของกระทรวงแรงงาน (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2559-2563.

กรุงเทพฯ: กระทรวงแรงงาน.

พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพุทธศกัราช 2542 แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545. (2545), ราชกิจจานุเบกษา. หน้า 37.

พันธยุทธ ทัศระเบียบ. (2561). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการจัดการเรียนรู้ของครูโรงเรียนเอกชนสอนศาสนาอิสลาม

ในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารนาคบุตรปริทรรศน์ มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช, 11(1), 127-140.

พิมล โชติธนอธิวัฒน์. (2560). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการบริหารงานวิชาการ ของโรงเรียนในสังกัดเทศบาลเมือง

พนัสนิคม. ศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยบูรพา.

ฤทัยวรรณ วงศ์ชนะ. (2558). การใช้สารสนเทศของครูแนะแนวโรงเรียนในจังหวัดสุราษฎร์ธานี 1.

วารสารวิจัยสมาคมห้องสมุดแห่งประเทศไทย, 8(1), 80-100.

วชิรวชิญ์ นิลสุก. (2558). การศึกษาพฤติกรรมการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศของนักศึกษาระดับปริญญาตรีในจังหวัดระยอง.

วิทยาลัยเฉลิมกาญจนาระยอง.

สุชาติ ใหญ่เลิศ. (2554). การบริหารงานวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนมัธยมศึกษา สังกัดสานักงานเขตพื้นที่

การศึกษามัธยมศึกษา เขต 24. วิทยานิพนธ์การศึกษามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สุธน ศรีศักดิ์บางเตย. (2562). แนวทางพัฒนาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในโรงเรียนพระแท่นดงรังวิทยาคาร.

หลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิตสาขาวิชาการบริหารการศึกษา, มหาวิทยาลัยศิลปากร.

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1. (2562). รายงานผลการดำเนินงานประจำปีงบประมาณ

พ.ศ. 2562. กลุ่มนโยบายและแผน. ประจวบคีรีขันธ์: สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาประจวบคีรีขันธ์ เขต 1.

หฤทัย อรุณศิริ. (2558). ปัญหาการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในสถานศึกษาตามความคิดเห็นของผู้บริหารและครู

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสิงห์บุรี 1. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรีี, 3(2), 43-51.

อภิญญา รัตนโกเมศ. (2552). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของโรงเรียนขยายโอกาสทางการศึกษา

สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาอุดรธานี เขต 3. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

อรรถยา อัศวเรืองพิภพ. (2560). การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการบริหารงานวิชาการของครูในโรงเรียนสำนักงานเขตวัฒนา

สังกดกรุงเทพมหานคร. สืบค้น 4 กุมภาพันธ์ 2564, จาก http://www.edu-journal.ru.ac.th/AbstractPdf/

-2-1_1510749657_is-bkk7-sec7-0028.pdf