ประสิทธิภาพการดำเนินงานของข้าราชการกรุงเทพมหานคร

Main Article Content

กานต์สิริ กาวิน
พิชิต รัชตพิบุลภพ

บทคัดย่อ

การศึกษาค้นคว้าครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา (1) ระดับประสิทธิภาพการดำเนินงานของข้าราชการกรุงเทพมหานคร (2) เปรียบเทียบระดับของประสิทธิภาพการดำเนินงานของข้าราชการกรุงเทพมหานครจำแนกตามสถานภาพของข้าราขการ ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามในการเก็บข้อมูลจากข้าราชการกรุงเทพมหานครจำนวน 384 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าที และค่าการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว ผลการวิจัยพบว่า ประสิทธิภาพการดำเนินงานของข้าราชการกรุงเทพมหานคร ค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านคุณภาพของงาน ด้านปริมาณงาน และด้านเวลาที่ใช้ในงานมีค่าเฉลี่ยระดับประสิทธิภาพอยู่ในระดับมาก ผลการศึกษาเปรียบเทียบระดับประสิทธิภาพเมื่อจำแนกตามสถานภาพของข้าราชการกรุงเทพมหานครพบว่า เพศและอายุราชการไม่แตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ .05 ส่วนอายุ ระดับตำแหน่ง และระดับการศึกษาแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กิตติยา ฐิติคุณรัดน์. (2556). ศึกษาเรื่องประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของพนักงาน บริษัทซันไซน์อินเตอร์เนชั่นเนล จำกัด.
กิติศักดิ์ พลอยพานิชเจริญ. (2546). ระบบการควบคุมคุณภาพที่หน้างานคิวซีเซอร์เคิล. กรุงเทพฯ : โรงพิมพ์ ส เอเชียเพรส.
จริยา เรือนแก้ว. นวัตกรรมการบริการลูกค้า. กรุงเทพฯ : เนรมิตการพิมพ์.2550.
ชัยสมพล ชาวประเสริฐ. การตลาดบริการ. กรุงเทพฯ : ส. เอเชียเพรส, 2547.
ช่วงโชติ พันธุเวช. (2547). การจัดการคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฏสวนสุนันทา.
ณภาภัช อัตถสุริยานันท์. ผลกระทบของความผูกพันต่อองค์การที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549.
ทิพาวดี เมฆสวรรค์. การบริหารมุ่งผลสัมฤทธิ์. พิมพ์ครั้งที่4. กรุงเทพฯ : กราฟฟิคฟอร์แมท, 2548.
ธงชัย สันติวงษ์. การบริหารงานบุคคล. กรุงเทพฯ : ไทยวัฒนาพานิช, 2548.
นรวิชญ์ สมฤทธิ์. (2557). ปัจจัยที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของบุคลากรในองค์การบริหารส่วนตำบลเชียงบาน อำเภอเชียงคำ จังหวัดพะเยา.
บรรจง จันทมาศ. (2546). การบริหารงานคุณภาพและเพิ่มผลผลิต. กรุงเทพฯ : เอ็กซ์เปอร์เน็ท
บุญชม ศรีสะอาด และบุญส่ง นิลแก้ว. (2535). “การอ้างอิงประชากรเมื่อใช้เครื่องมือแบบมาตราส่วนประมาณค่ากลุ่มตัวอย่าง” การวัดผลการศึกษา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม. 3(1) : 22-25.
ปริศนา พิมพา. (2559). ปัจจัยที่มีผลต่อประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอธาตุพนม จังหวัดนครพนม.
ปรียาวดี ผลเอนก. (2556). การจัดการคุณภาพ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
พฤธิสิทธิ์ อุทุม. (2559). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการองค์การบริหารส่วนจังหวัดสระแก้ว. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป, บริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
พัชราฎา ไกรคำ. (2556). ประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของข้าราชการระดับปฏิบัติงาน: กรณีศึกษาสำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย.
ราตรี ฉันทพจน์. (2553). ศึกษาเรื่องประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาหนองคาย เขต 2.
เรืองวิทย์ เกษสุวรรณ. (2554). การจัดการคุณภาพ. กรุงเทพฯ : บพิธการพิมพ์
วรัท พฤกษากุลนันท์. การเปลี่ยนแปลงจากยุคสู่ยุคของนักเทคโนโลยีการศึกษา. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2563.
จากkaekae.oas.psu.ac.th/ojs/oasej/include/getdoc.php?id=664&article.., 2551.
วัฒนา พัฒนพงศ์. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการวัดการเพิ่มผลผลิตภาคบริการ. กรุงเทพฯ : สถาบันเพิ่มผลผลิตแห่งชาติ, 2547.
วิชัย พัฒนพงศ์. การบริการด้วยหัวใจ. กรุงเทพฯ : บุ๊กค์แบงก์, 2548.
ศิริพร พงศ์ศรีโรจน์. (2543). องค์การและการจัดการ. พิมพ์ครั้งที่ 9. กรุงเทพฯ : ศูนย์หนังสือ, มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
สมชาย รัตนสมบูรณ์. (2554). ศึกษาความเห็นต่อประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของ
ข้าราชการสำนักทางหลวงชนบทที่ 12 (สงขลา). วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตร มหาบัณฑิต, สาขาวิชาวิทยาการจัดการ, บริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมชาติ กิจยรรยง. สร้างบริการ สร้างความประทับใจ. กรุงเทพฯ : เดช – เอนการพิมพ์, 2546.
สมบูรณ์ หลวงบุญมี. (2556). ศึกษาประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานของพนักงานส่วนท้องถิ่นในองค์กรส่วนท้องถิ่น อำเภอแม่ใจ จังหวัดพะเยา. งานนิพนธ์รัฐ
ประศาสนศาสตร มหาบัณฑิตสาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏพะเยา.
สมใจ ลักษณะ. การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ : ธนรัตน์, 2546.
สุดารัตน์ กิมศิริ. (2554). ศึกษาเรื่องปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรกระทรวงเกษตรและสหกรณ์จังหวัดอุตรดิตถ์.
สุทธิ ปั้นมา. (2557). ความพึงพอใจของประชาชนต่อการบริการของเจ้าหน้าที่ฝ่ายทะเบียนสาขากาฬสินธุ์. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี
สุวเนตร ธงยศ. ผลกระทบของความรู้ความสามารถทางนวัตกรรมและประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีที่มีต่อความสำเร็จขององค์การของบริษัทในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ.วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 2549.
สำนักงานคณะกรรมการข้าราชการกรุงเทพมหานคร. สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พฤศจิกายน 2562.
จาก 203.155.220.238/csc/images/Files/report_stat/num-office-by-sex.pdf, 2562.
อรรถสิทธิ์ มณีปุระ. ประสิทธิผลการปฏิบัติงานของพนักงานสวนตําบลระดับผูบริหารศึกษาเฉพาะกรณี : องคการบริหารสวนตําบลในเขตจังหวัดสมุทรปราการ. วิทยานิพนธ ศษ.ม. (การบริหารการศึกษา) กรุงเทพมหานคร : มหาวิทยาลัยบูรพา, 2553.
อาภรณ์ ภู่วิทยพันธุ์. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์. สืบค้นเมื่อวันที่ 23 กุมภาพันธ์ 2563.
จาก www.train.cdd.go.th/yuttasad/scan/4KM%20IDP.doc , ไม่ปรากฏปีที่พิมพ์.
อัญชลี จอมคำสิงห์. (2559). ประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของบุคลากรกองการเจ้าหน้าที่กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชารัฐประศาสนศาสตร์, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏ
สวนสุนันทา.
อุทิศ ศิริวรรณ. พฤติกรรมองค์การ = Organizational behavior. กรุงเทพฯ : เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า, 2549.
อุทัสน์ วีระศักดิ์การุณย์. (2556). ปัจจัยที่มีผลกระทบต่อความต้องการในการปฏิบัติงานของข้าราชการตำรวจ กองบังคับการอารักขาและควบคุมฝูงชน. ภาคนิพนธ์ปริญญารัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการบริหารงานตำรวจและ
กระบวนการยุติธรรม, มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี.
Herbert A ,Simon. Administrative Behavior. New York : The McMillen Company, 1990.
Peterson, E. & Plowman, G. E. (1989). Business Organization and Management. Homewood, Illinois: Richard D. Irwin.
Peterson., & Plowman, G.E. (1953). Business Organization and Management. Illinois: lrwin.
Verma, R., & Boyer, K.K. (2009). Operations & Supply chain management world class theory and practice. London : South – Western