ความต้องการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบระดับความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ใช้การศึกษาเชิงปริมาณ โดยแบ่งการศึกษาออกเป็น 3 ด้านคือ ด้านการศึกษา ด้านการฝึกอบรม และด้านการพัฒนาตนเอง กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ พนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี จำนวน 362 คน ใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการวิจัย สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ใช้ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test และ ค่า F-test ผลการวิจัยพบว่า ความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรบุคคล ของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี ค่าเฉลี่ยโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก และเมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านการฝึกอบรมมีค่าเฉลี่ยระดับความต้องการในการพัฒนาอยูในระดับมากที่สุด ด้านการพัฒนาตนเองมีค่าเฉลี่ยระดับความต้องการอยูในระดับมาก และด้านการศึกษา มีค่าเฉลี่ยความต้องการอยู่ในระดับปานกลาง ในส่วนของผลการศึกษาเปรียบเทียบเทียบระดับความต้องการในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลของพนักงานองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ในเขตอำเภอเมืองนนทบุรี จังหวัดนนทบุรี เมื่อจำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า ระดับความต้องการแตกต่างกันตามอายุ ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ .05 แต่ไม่แตกต่างกันตาม เพศ ระดับการศึกษา อายุงาน รายได้ และระดับตำแหน่ง
Article Details
ข้อความและบทความในวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ เป็นแนวคิดของผู้เขียน ไม่ใช่ความคิดเห็นและความรับผิดชอบของคณะผู้จัดทำ บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ และมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลรัตนโกสินทร์
ข้อความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการีพิมพ์ในวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการ หากบุคคลใดหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาติเป็นลายลักษณ์อักษรจากวารสารนวัตกรรมการบริหารและการจัดการก่อนเท่านั้น
References
จุฑามณี ตระกูลมุทุตา. (2544). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ. (พิมพ์ครั้งที่ 1). กรุงเทพฯ: ม.ป.ท.
ชูศรี วงศ์รัตนะ. (2544). เทคนิคการใช้สถิติเพื่อการวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพฯ: เทพเนรมิตรการพิมพ์.
ดนัย เทียนพุฒ. (2537). กลยุทธ์การพัฒนาคน : สิ่งท้าทายความสำเร็จของธุรกิจ. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ทศพร พีสะระ. (2554). ความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏชัยภูมิ. วิทยานิพนธ์ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
เทียมรัตน์ คงทนต์. (2554). ความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากรในบริษัท ทีเอสที เมทัลเวิร์ค จำกัด. การค้นคว้าอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์.
นมิตา ชูสวรรณ. (2553). ความต้องการพัฒนาตนเองของพนักงานสายปฏิบัติการวิชาชีพและบริหารทั่วไป มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์. การศึกษาอิสระการจัดการมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์.
พระเอกราช กิตฺติธโร (สมเผ่า). (2556). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ขององค์การบริหารส่วนตำบลในอำเภอกันทรลักษ์ จังหวัดศรีสะเกษ. วิทยานิพนธ์ หลักสูตรปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ์ ราชวิทยาลัย.
ไพศาล ไกรสิทธิ์. (2541). เอกสารคำสอนรายวิชาการพัฒนาตน. ลพบุรี: คณะครุศาสตร์ สถาบันราชภัฏหมู่บ้านจอมบึง.
รัชนี เกิดดี. (2554). ความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากรเทศบาลตำบลตะเคียนเตี้ย อำเภอบางละมุง จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
เรียม ศรีทอง. (2542). พฤติกรรมมนุษย์กับการพัฒนาตน. กรุงเทพฯ: เธิร์ดเวฟ เอ็ดดูเคชั่น.
วรารัตน์ เขียวไพรี. (2551). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี.
วริศรา จำปา. (2554). การศึกษาความต้องการพัฒนาตนเองของครูโรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยรามคำแหง. วารสารวิจัยรามคำแหงมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 14(3), 72-76.
สมใจ ลักษณะ. (2548). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือมหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สมาน รังสิโยกฤษฏ์. (2544). การบริหารงานบุคคล. (พิมพ์ครั้งที่ 21). กรุงเทพฯ: สวัสดิการสำนักงานข้าราชการพลเรือน.
สัมฤทธิ์ ยศสมศักดิ์. (2549). การบริหารทรัพยากรมนุษย์. กรุงเทพฯ: เอ็มทีเพรส.
สริญญา แพทย์พิทักษ์. (2553). ความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากรในสังกัดองค์การบริหารส่วนตำบลวังกระแจะ อำเภอเมืองตราด จังหวัดตราด. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
สิริณัฏฐ์ สิทธิภรเจริญ. (2557). การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์กับความผูกพันต่อองค์การของเจ้าหน้าที่กลุ่มงานเภสัชกรรม โรงพยาบาลสวรรค์ประชารักษ์ จังหวัดนครสวรรค์. สารนิพนธ์หลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกริก.
สุภาพร พิศาลบุตร และยงยทธุ เกษสาคร. (2545). การพัฒนาบคลากรและการฝึกอบรม. กรุงเทพฯ: วีเจ.พริ้นติ้ง.
อมรวดี กลิ่นจันทร์. (2552). ความต้องการพัฒนาตนเองของบุคลากรสายสนับสนุน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
อรุณ รักธรรม. (2537). การพัฒนาและการฝึกอบรมบุคคล. กรุงเทพฯ: สุนทรออฟเซท.
Chiraprapha Akaraborworn. (2006). HRD Roles in Thailand. Bangkok: Tao.
Gilley, J. W. and Eggland, S. A. (1989). Principles of Human Resource Development. Boston: Addison-Wesley.
Gilley, J. W., Egg land, S. A. and Maycunich, A. M. (2002). Principle of Human Resource Development. Cambridge, M.A.: Perseus.
Mathis, Robert L., and Jackson, John Harold. (2007). Human Resource Management: essential perspectives. (4th ed.). Mason, OH: Thomson Business and Economics.
Nadler, L. (1984). The Handbook of Human Resource Development. New York: Wiley.
Nadler, L. and Wiggs, G.D. (1989). Managing Human Resources Development. California: Jossey-Bass.
Pace, R. Wayne, Smith, Phillip C. and Mills, Gordon E. (1991). Human Resource Development: The Field. Englewood Cliffs, N.J: Prentice Hall.
Rothwell, W. J. (2005). Beyond Training and Development. New York: AMACOM.
Swanson, R. A., and Holton, E. F. (2001). Foundations of Human Resource Development. San Francisco: Berrett-Koehler.