ความต้องการจำเป็นสมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียน ประถมศึกษาในประเทศไทย

Main Article Content

สุจิตรา วันทอง
พนายุทธ เชยบาล

บทคัดย่อ

          การวิจัยเชิงสำรวจนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความต้องการจำเป็นสมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในประเทศไทย กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา สังกัดสำนักงาน  เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา ปีการศึกษา 2566 จำนวน 379 คน ได้มาจากการสุ่มกลุ่มตัวอย่าง         แบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามแบบมาตรประมาณค่า 5 ระดับ เกี่ยวกับสภาพปัจจุบันและสภาพที่คาดหวังเกี่ยวกับสมรรถนะดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษา และความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสภาพปัจจุบันเท่ากับ 0.87 และความเชื่อมั่นของแบบสอบถามสภาพที่คาดหวังเท่ากับ 0.96 วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และดัชนีความต้องการจำเป็น ผลการวิจัย พบว่า ผู้บริหารโรงเรียนประถมศึกษาในประเทศไทยมีความต้องการจำเป็นสมรรถนะดิจิทัล ทุกองค์ประกอบ โดยองค์ประกอบการใช้ดิจิทัลมีความต้องการจำเป็นลำดับแรก (PNImodified = 0.49) รองลงมา คือ การปรับตัวยุคดิจิทัล (PNImodified = 0.46) การแก้ปัญหาดิจิทัล (PNImodified = 0.44) การรู้และเข้าใจดิจิทัล (PNImodified = 0.42) และการมีจริยธรรมดิจิทัล (PNImodified = 0.39) ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2545). พระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545 พร้อมกฎกระทรวงที่เกี่ยวข้องและพระราชบัญญัติการศึกษาภาคบังคับ พ.ศ. 2545. กรุงเทพมหานคร: องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์.

จารุนันท์ ผิวผาง. (2564). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลที่ส่งผลต่อการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ในการบริหารจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครพนม เขต 2. วารสารรัชต์ภาคย์ คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. 6 (2), 96-108.

จิณณวัตร ปะโคทัง. (2561). ภาวะผู้นำยุคดิจิทัลสำหรับผู้บริหารโรงเรียนมืออาชีพ. อุบลราชธานี: ศิริธรรม

ออฟเซ็ท.

ชูชัย สมิทธิไกร. (2549). การฝึกอบรมบุคลากรในองค์การ. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นุชนรา รัตนะศิระประภา. (2557). สมรรถนะของผู้บริหารที่ส่งผลต่อคุณลักษณะโรงเรียนมาตรฐานสากล

สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารวิชาการ. 7 (3), 507 -528.

บุญชม ศรีสะอาด. (2553). การวิจัยเบื้องต้น. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาส์น.

บุตรี แก้วอินธิ. (2565). สภาพและความต้องการจำเป็นในการพัฒนาทักษะดิจิทัลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนม. วารสารการบริหารและนิเทศการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 13 (1), 42-51.

เบญจมาศ ตันสูงเนิน. (2564). องค์ประกอบสมรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล สังกัดสำนักงาน

เขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานนทบุรี เขต 1. วารสารวิจัยและพัฒนามหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา. 13 (1), 22-40.

ปราวีณยา สุวรรณณัฐโชติ. (2541). กรณีศึกษากระบวนการยอมรับเทคโนโลยีสารสนเทศในโรงเรียน. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

วิจารณ์ พานิช. (2546). องค์การแห่งการเรียนรู้และการจัดการความรู้. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 27 มิถุนายน 2565. แหล่งที่มา: http://www.ha.or.th/km.html.

สงบ อินทรมณี. (2562). การบริหารสถานศึกษาในยุคดิจิทัล. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยการจัดการและเทคโนโลยีอีสเทิร์น. 16 (1), 353 – 360.

สุกัญญา แช่มช้อย. (2561). การบริหารโรงเรียนในยุคดิจิทัล (SCHOOL MANAGEMENT IN DIGITAL

ERA). กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สุรีพร โพธิ์ภักดี. (2558). สมรรถนะการบริหารงานของผู้บริหารโรงเรียนตามทัศนะของครูสังกัดสำนักงาน เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 12. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้. 8 (1), 39-52.

สุวิมล ว่องวาณิช. (2550). การวิจัยประเมินความต้องการจำเป็น. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2549). แนวปฏิบัติงานการจัดการศึกษาของสถานศึกษานิติบุคคลในสังกัดเขตพื้นที่การศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพมหานคร: สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ.

สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2565). โครงสร้างองค์กร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 28 กันยายน 2565. แหล่งที่มา: https://www. obec.go.th/about/โครงสร้างองค์กร.

สำนักงานคณะกรรมการดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2562). กรอบสมรรถนะด้านดิจิทัลสำหรับ พลเมืองไทย. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 26 กรกฎาคม 2565. แหล่งที่มา: https://web.parliament. go.th/assets/portals/1/files/digital competence_framework_for_thai_citizens.pdf.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2558). ทิศทางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ

สังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพมหานคร: ซีเอ็ดยูเคชัน.

อดิศักดิ์ ด้านวังขวา. (2564). สมรรถนะทางเทคโนโลยีดิจิทัลของผู้บริหารโรงเรียน สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาลพบุรี เขต 2. สารวารโครงการทวิปริญญาทางรัฐประศาสนศาสตร์และบริหารธุรกิจ. 1 (2), 3-14.

International Society for Technology in Education. (2002). ISTE National Educational Technology Standards (NETS) and Performance Indicators for Administrators. Retrieved October 1, 2023, from https://id.iste.org/docs/ dddddddpdfs/nets-for-admini strators-2002 en.pdf?sfvrsn=2.

Krejcie, R. V., & Morgan, D. W. (1970). Determining sample size for research activities. Educational and Psychological Measurement. 30 (3), 607-610.

Schrum, L., & Levin, B. B. (2009). Leading 21th Century Schools: Harnessing Technology for Engagement and Achievement [computer file]. California: SAGE Publications.