การสื่อสารของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้าง วัฒนธรรมองค์กรที่เป็นเลิศ

Main Article Content

เอกกร มีสุข
จุฬารัตน์ จุลภักดิ์
ทนากร ศรีก๊อ
มนูญ วิวรรณ
อรรฆชัย ตระการศาสตร์
วิทยาธร ท่อแก้ว
ปิยฉัตร ล้อมชวการ
หฤทัย ปัญญาวุธตระกูล
หัสพร ทองแดง

บทคัดย่อ

          การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) การสื่อสารเพื่อให้ความรู้แก่บุคลากรของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เป็นเลิศ และ 2) การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจบุคลากรของผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรที่เป็นเลิศ ใช้ระเบียบวิธีวิจัยเชิงคุณภาพด้วยการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก เลือกผู้ให้ข้อมูลหลักแบบเจาะจง รวม 17 คน ประกอบด้วย (1) ผู้บริหารองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 คน (2) ปลัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 5 คน (3) นักวิชาการด้านการสื่อสาร 4 คน และ (4) นักวิชาชีพด้านการสื่อสารองค์กร 3 คน เครื่องมือ คือ แนวทางสัมภาษณ์เชิงลึกกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยวิธีการสร้างข้อสรุป
          ผลการวิจัย พบว่า 1) การสื่อสารเพื่อให้ความรู้แก่บุคลากร ประกอบด้วย (1) การสื่อสารที่ชัดเจนและมีการโน้มน้าวใจ (2) การสร้างการรับรู้และเข้าใจในทิศทางเดียวกัน (3) การยึดปฏิบัติตามค่านิยมของวัฒนธรรมขององค์กร (4) กลยุทธ์การสื่อสารแนวทางความร่วมมือและการวัดผล (5) หลักการเข้าถึงข้อมูลที่เชื่อถือได้และเป็นประโยชน์ในการส่งเสริมความร่วมมือ (6) เนื้อหาสารสอดคล้องตามวัตถุประสงค์ (7) การสื่อสารอย่างต่อเนื่องและเหมาะสม และ (8) ความร่วมมือ ความต่อเนื่อง และการวัดผลประเมิน และ 2) การสื่อสารเพื่อการโน้มน้าวใจบุคลากร ประกอบด้วย (1) การสร้างความเข้าใจและการยอมรับ (2) การกำหนดแนวทางความร่วมมือและเป้าหมายร่วมกันภายในองค์กร (3) การสื่อสารความเข้าใจและเห็นคุณค่าของวัฒนธรรมองค์กร (4) การให้ความสำคัญเชื่อมโยงเป้าหมายการทำงานของบุคลากรฝ่าย (5) การสื่อสารที่มีประสิทธิภาพ เนื้อหาถูกต้อง เข้าใจง่าย และส่งเสริมความร่วมมือ (6) เนื้อหาที่มีคุณค่า เหมาะสม น่าเชื่อถือ และสร้างแรงจูงใจ (7) การเลือกใช้สื่อและเนื้อหาอย่างเหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมาย และ (8) การวางแผนและบริหารจัดการการสื่อสารในลักษณะที่เหมาะสมกับบริบทขององค์กร 

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กานต์ บุญศิริ. (2566). นักวิชาชีพด้านการสื่อสารองค์กร. สัมภาษณ์. 18 มกราคม 2567.

กำจร ธนสุนทรสุทธ์. (2566). นายกองค์การบริหารส่วนตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลหนองใหญ่

อำเภอสะตึก จังหวัดบุรีรัมย์. สัมภาษณ์. 28 ตุลาคม 2566.

เกรียงศักดิ์ แสงสว่าง. (2566). ภาวะผู้นำและวัฒนธรรมองค์กรที่มีอิทธิพลต่อแรงจูงใจในการปฏิบัติงานของบุคลากรองค์การบริหารส่วนจังหวัดปทุมธานี. คณะบริหารธุรกิจและรัฐประศาสนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเวสเทิร์น. วารสารวิชาการ การจัดการภาครัฐและเอกชน. 5 (1), 113-127.

จงดี จันทร์ดำ. (2559). การสื่อสารภายในองค์กรเพื่อสร้างวัฒนธรรมการบริหารจัดการที่เป็นเลิศ : กรณีศึกษาโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชตะพานหิน จังหวัดพิจิตร. มหาวิทยาลัยมหิดล/นครปฐม.

เชิด ด้วงไพรี. (2566). นักวิชาชีพด้านการสื่อสารองค์กร. สัมภาษณ์. 13 กุมภาพันธ์ 2567.

ณัฐภรณ์ เอกนราจินดาวัฒน์. (2563). ภาวะผู้นำทางการบริหารการพัฒนา. มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 พฤศจิกายน 2566 แหล่งที่มา: http://www.elgrad.ssru.ac.th/ natnaporn_ae/pluginfile.php/31/block_html/content/%E0%B2.pdf.

ทัศนัย ทองคต. (2566). นายกองค์กรบริหารส่วนตำบลสำนักท้อน อำเภอบ้านฉาง จังหวัดระยอง. สัมภาษณ์. 11 พฤศจิกายน 2566.

ธนกฤต ภูมิมาตร. (2566). นายกเทศมนตรีเทศบาลตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง. สัมภาษณ์. 19 ตุลาคม 2566.

ธีระพงษ์ วงศ์สายตา. (2566). นายกองค์การบริหารส่วนตำบลองค์การบริหารส่วนตำบลหนองใหญ่ อำเภอสะตึก จังหวัดบุรีรัมย์. สัมภาษณ์. 28 ตุลาคม 2566.

นริศ ศรีใหม่. (2566). ปลัดเทศบาลตำบลโคกหล่อ อำเภอเมือง จังหวัดตรัง. สัมภาษณ์. 19 ตุลาคม 2566.

ปิยะฉัตร ล้อมชวการ. (2566). นักวิชาการด้านการสื่อสาร. สัมภาษณ์. 16 ตุลาคม 2566.

พิมพ์ศิริ ตั้งคุณศิริ และวาสิตา บุญสาธร. (2561). กลยุทธ์การสื่อสารของผู้นำและประเภทอำนาจของผู้นำที่ส่งผลต่อประสิทธิภาพในการประชุมขององค์การ กรณีศึกษา องค์การรัฐวิสาหกิจแห่งหนึ่ง. วารสารสังคมศาสตร์บูรณาการ. 2 (5), 181-205.

พีรพร กันภัย. (2566). ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลเจดีย์หลวง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย. สัมภาษณ์. 3 พฤศจิกายน 2566.

วิทยาธร ท่อแก้ว. (2565). การสื่อสารในการสร้างวัฒนธรรมองค์กรธรรมาภิบาล. นนทบุรี: มหาวิทยาลัย สุโขทัยธรรมาธิราช.

วิทยาธร ท่อแก้ว. (2565). การสร้างวัฒนธรรมองค์กร. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 16 พฤศจิกายน 2566 แหล่งที่มา : https://www.stou.ac.th/SchoolsWeb/commarts/UploadedFile.

วิทยาธร ท่อแก้ว. (2566). นักวิชาการด้านการสื่อสาร. สัมภาษณ์. 11 ตุลาคม 2566.

วิสาข์ เชี่ยวสมุทร. (2564). ปัจจัยด้านการสื่อสารองค์กรที่มีผลต่อการเติบโตและความยั่งยืนขององค์กร: กรณีศึกษา บริษัท ซีพี ออลล์ จำากัด (มหาชน). คณะนิเทศศาสตร์ สถาบันการจัดการปัญญาภิวัฒน์. วารสารปัญญาภิวัฒน์. 13 (1), 104-118.

ศุภวรรณ คงเสมา, สุภาษา บุญยงค์ และกัมปนาท วงษ์วัฒนพงษ. (2565). วัฒนธรรมองค์กร : เงื่อนไขสำคัญของการสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน. Journal of Roi Kaensarn Academi,

(12), 378290.

สมเกียรติ อินทวี. (2566). นายกองค์การบริหารส่วนตำบลเจดีย์หลวง อำเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย. สัมภาษณ์. 3 พฤศจิกายน 2566.

สมบัติ พัฒนายิ่งเจริญ. (2566). ปลัดองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่. จังหวัดสงขลา. สัมภาษณ์. 17 ตุลาคม 2566

สินธพ อินทรัตน์. (2566). นายกองค์การบริหารส่วนตำบลท่าข้าม อำเภอหาดใหญ่. จังหวัดสงขลา.

สัมภาษณ์. 12 ตุลาคม 2566.

สุดา ประทวน และทิพทินนา สมุทรานนท์. (2558). ความสัมพันธ์ระหว่างการรับรู้วัฒนธรรมองค์การ ทัศนคติต่องาน และความผูกพันต่อองค์การ กับพฤติกรรมการทำงานของพนักงานบริษัทผลิต และจำหน่ายเครื่องดื่ม. คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา. 7 ( 14), 124-145

สุภาภรณ์ ศรีดี. (2566). นักวิชาชีพด้านการสื่อสารองค์กร. สัมภาษณ์. 28 พฤศจิกายน 2566.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2559). ทฤษฎีการสื่อสาร. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ระเบียงทอง.

หฤทัย ปัญญาวุธตระกูล. (2566). นักวิชาการด้านการสื่อสาร. สัมภาษณ์. 27 ตุลาคม 2566.

หัสพร ทองแดง. (2566). นักวิชาการด้านการสื่อสาร. สัมภาษณ์. 19 ตุลาคม 2566.

อมรรัตน์ แก้วปัน. (2557) การสื่อสารเพื่อสร้างเสริมวัฒนธรรมองค์กรของบริษัทแพนดอร่า โพรดักชั่น จำกัด. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์/กรุงเทพมหานคร.

อุษณากร ทาวะรมย์. (2562). วัฒนธรรมองคการขององคกรปกครองสวนทองถิ่น: กรณีศึกษา องค์การบริหารส่วนจังหวัด เทศบาลนคร และเทศบาลเมือง ในจังหวัดชลบุรีและจังหวัดระยอง. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง. 8 (1), 85-105.

Creswell, J. W. (2012). Qualitative inquiry and research design: Choosing among five approaches: Sage. Publications, Inc.

Oetzel, John G. (2005). Effective intercultural Work Group Communication Theory. ed. by William B Gudykunst. Theorizing about Communication and Culture.Thousand Oaks, CA: Sage.