การเสริมทักษะการอ่านโน้ตจังหวะดนตรีพื้นฐาน ด้วยนวัตกรรมระบบ สุ่มของรูบิคที่มีประสิทธิภาพ
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ แนะนำระบบการสุ่มที่มีประสิทธิภาพ โดยใช้ประโยชน์จากระบบกระบวนการคัดเลือกแบบสุ่ม เพื่อเพิ่มทักษะ ไหวพริบ และแบบฝึกหัดให้กับนักดนตรีได้อย่างไม่จำกัด บทความนำเสนอการทดลองที่ประเมินผลของระบบ ที่มีต่อการแสดง ความคิดสร้างสรรค์ และความพึงพอใจต่อความสามารถทางดนตรีของผู้เข้าร่วม สมมุติฐานว่าระบบการสุ่มมีผลในเชิงบวกต่อการพัฒนาทักษะ ไหวพริบ และความคิดสร้างสรรค์ต่อผู้เข้าร่วม และมีส่วนต่อยอดการฝึกฝนดนตรี กระบวนการคัดเลือกแบบสุ่มกระตุ้นให้เกิดการทดลองและการสำรวจ ทำให้นักดนตรีสามารถพัฒนาทักษะและรูปแบบ แนวทางใหม่ ๆ ระบบยังช่วยเพิ่มความคิดสร้างสรรค์ด้วยการนำเสนอแนวคิดใหม่ทางดนตรี และการผสมผสานทักษะและไหวพริบที่คาดไม่ถึง นอกจากนี้ระบบการสุ่มยังให้ความรู้สึกแปลกใหม่และคาดเดาไม่ได้ ซึ่งสามารถเพิ่มความเพลิดเพลิน การมีส่วนร่วมกับการฝึกดนตรีของผู้เข้าร่วม บทความนี้สรุปโดยกล่าวถึงนวัตกรรมที่เกี่ยวกับการศึกษาด้านดนตรี การฝึกการแสดง และการส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์ทางดนตรีด้วยระบบสุ่มที่มีประสิทธิภาพ
Article Details
References
Lemelson. Ernö Rubik. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา : https://lemelson. mit.edu/resources/erno-rubik
Davidson, M., Dethridge, J., & Kociemba, H. (2008). God's Number is 20. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 20 ธันวาคม 2566. แหล่งที่มา : https://web.mit.edu/sp.268/www/rubik.pdf
The Oxford Handbook of Music Performance, Volume 2. (2022). In Oxford University Press eBooks. https://doi.org/10.1093/oxfordhb/9780190058869.001.0001
Torrance, E. P. (1972). Can we teach children to think creatively?*. The Journal of Creative Behavior, 6 (2), 114–143. https://doi.org/10.1002/j.2162-6057.1972.tb00923.x
Custodero, L. A. (2011). The call to create: Flow experience in music learning and teaching. Oxford University Press eBooks, 369–384. https://doi.org/10.1093/acprof:oso/ 9780199568086.003.0023
Hannon, E. E., & Trainor, L. J. (2007). Music acquisition: effects of enculturation and formal training on development. Trends in Cognitive Sciences, 11 (11), 466–472. https://doi.org/10.1016/j.tics.2007.08.008
Huss, M., Verney, J. P., Fosker, T., Mead, N., & Goswami, U. (2011). Music, rhythm, rise time
perception and developmental dyslexia: Perception of musical meter predicts reading and phonology. Cortex, 47 (6), 674–689. https://doi.org/10.1016/j.cortex.2010.07.010