แนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาญี่ปุ่นชั้นต้นและชั้นกลาง

Main Article Content

ชฎาภรณ์ จันทร์ประเสริฐ

บทคัดย่อ

          บทความนี้มีจุดมุ่งหมายเพื่อเสนอแนวทางการสอนเพื่อพัฒนาทักษะการฟังภาษาญี่ปุ่นชั้นต้นและชั้นกลาง ผู้สอนได้นำรูปแบบการสอนที่ใช้ระเบียบวิธีฟัง-พูด (The Audio-Lingual Method) มาใช้ในการพัฒนาทักษะการฟังเพื่อความเข้าใจ เพื่อให้ผู้เรียนสามารถนำความรู้ที่ได้รับไปประยุกต์ใช้ในการสื่อสาร โดยใช้กิจกรรมในการสอนฟังภาษาต่างประเทศเพื่อการสื่อสาร ซึ่งแบ่งเป็น 3 ขั้นตอน คือ 1) ขั้นตอนก่อนการฟัง (Pre-listening) 2) ขั้นตอนระหว่างฟัง (While-listening) และ3) ขั้นตอนหลังการฟัง (Post-listening) และสำหรับการเรียนการฟังในชั้นต้น ผู้สอนได้จัดการเรียนรู้โดยใช้รูปแบบอีเลิร์นนิงเพื่อเสริมการเรียน (Supplement) เข้ามาเป็นส่วนเสริมจากการเรียนในชั้นเรียนปกติเพื่อส่งเสริมในการพัฒนาทักษะการฟังของผู้เรียน

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

การฟัง. (ม.ป.ป.) : ออนไลน์.สืบค้นเมื่อ 10 พฤศจิกายน 2564. แหล่งที่มา http://110.

59.3/chomlearning/media/TH3.pdf

จุไรรัตน์ ลักษณะศิริ และวีรวัฒน์ อินทรพร, บรรณาธิการ. (2562). ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร. นครปฐม:

มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ฐาปนีย์ ธรรมเมธา. (2557). อีเลิร์นนิ่ง: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ e-Learning: from theory to practice.

กรุงเทพมหานคร: โครงการไซเบอร์ไทย สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา.

เตือนใจ อัฐวงศ์ (2557). การเป็นผู้ฟังที่ดี. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 พฤศจิกายน 2564. แหล่งที่มา:

http://www.readqur.com/doc/2087290/

ธูปทอง กว้างสวาสดิ์. (2561). 200 กิจกรรมสอนภาษาอังกฤษ. (พิมพ์ครั้งที่3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

นพรัตน์ ธนานุรักษากุล. (2548). ผลกระทบการใช้ระเบียบวิธีฟังแล้ว-ว่าตามต่อทักษะการฟังและการพูดของนักศึกษาชั้นปีที่ 1 มหาวิทยาลัยเอเชียอาคเนย์. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 15 พฤศจิกายน 2564. แหล่งที่มา http//www.sites.google.com/a/sau.ac.th/library/2-7

นฤมล รอดเนียม. (2557). ความพร้อมในการเรียนด้วยอีเลิร์นนิ่งของนักศึกษาสถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร. รายงานการวิจัย. คณะศึกษาศาสตร์: สถาบันการพลศึกษา วิทยาเขตชุมพร.

ปวีณัย บุญปก (2554). วิธีสอนภาษาต่างประเทศแบบ ALM: งานวิจัยจากอดีตจนถึงปัจจุบัน. วารสารภาษาและภาษาศาสตร์, 29 (2), 61-80.

รัชชุมาศ ลัภยวิจิตร. (2551). อดีต ปัจจุบัน และอนาคตของแนวทางการสอนภาษาอังกฤษ. วารสารนักบริหาร. 28 (2), 90-95.

รุ่งฤดี แผลงศร, (2560). ศาสตร์การสอนภาษาไทยในฐานะภาษาต่างประเทศ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

สำนักงานราชบัณฑิตยสถาน.(2554). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ.2554 ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 22 กันยายน 2564. แหล่งที่มา: https://dictionary.orst.go.th/

อรุณี วิริยะจิตรา และคณะ. (2555). เหลียวหน้าแลหลังการสอนภาษาอังกฤษ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์หน้าต่างสู่โลกกว้าง.

อรุณี อรุณเรือง วีนา สงวนพงษ์ และทรงสิริ วิชิรานนท์. (2556). รูปแบบการเรียนภาษาอังกฤษของนักศึกษาคณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร. คณะศิลปศาสตร์: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

Yasumasa, M. (2007) NihongoˑShokyuu Reberu ni okeru 「Choukaishidou」 no Arikata ni tsuite -「Choushu」) kara 「Choukai」 he no Katei wo Juushi suru kyoushitsu Katsudou-. (“ความเข้าใจการฟัง” ในภาษาญี่ปุ่นระดับพื้นฐาน-กิจกรรมชั้นเรียนที่เน้นกระบวนการ “ได้ยิน” ไปสู่ “การฟัง”-).วารสารเจแปนฟาวด์เดชั่น. 4, 141-150.