การศึกษาความสัมพันธ์ปัจจัยเชิงสาเหตุความสามารถทางการแข่งขัน ของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อการศึกษาความสัมพันธ์ปัจจัยเชิงสาเหตุความสามารถทางการแข่งขันของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย ที่ได้มาตรฐานการรับรอง JCI (The Joint Commission International) สำหรับโรงพยาบาลที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้วิธีการวิจัยเชิงปริมาณ ซึ่งเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารระดับสูงและผู้จัดการแผนกของโรงพยาบาลเอกชน จำนวน 528 คน และได้รับกลับคืนทั้งสิ้นจำนวน 477 คน ด้วยแบบสอบถามการวิเคราะห์ข้อมูล โดยใช้เทคนิคโมเดลสมการโครงสร้าง
ผลการศึกษาพบว่า (1) การวิเคราะห์เส้นทางอิทธิพลระหว่างตัวแปรแฝงภายนอก พบว่า ทุนมนุษย์มีอิทธิพลทางตรงต่อความสามารถทางการแข่งขัน ค่าสัมประสิทธิ์เส้นทาง เท่ากับ 0.136**, คุณภาพการให้บริการ
มีอิทธิพลทางตรงต่อความสามารถทางการแข่งขัน และมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทาง เท่ากับ 0.290**, การมุ่งเน้นการตลาดอิทธิพลทางตรงความสามารถทางการแข่งขัน และมีค่าสัมประสิทธิ์เส้นทาง เท่ากับ 0.350** (2) ผลการวิเคราะห์เส้นทางความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์อยู่ในเกณฑ์ดี ซึ่งแสดงให้เห็นว่าสามารถนำไปประยุกต์ใช้ได้จริง โดยมี c2= 77.24, df = 60, c2/df = 1.29, p-value = 0.0663, RMSEA = 0.025, GFI = 0.981, AGFI = 0.952 ตัวแปรทั้งหมดในโมเดลสามารถร่วมอธิบายความสามารถทางการแข่งขัน ได้ร้อยละ 46
Article Details
References
กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข. (2559). ยุทธศาสตร์การพัฒนาประเทศไทยให้เป็นศูนย์กลางสุขภาพนานาชาติ (Medical hub) (พ.ศ. 2560-2569). นนทบุรี: กรมสนับสนุนบริการสุขภาพ กระทรวงสาธารณสุข.
ธนาคารทหารไทยธนชาต. (2563). แนวโน้มธุรกิจ โรงพยาบาลเอกชนปี 2563-65. ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2565. แหล่งที่มา: https://media.ttbbank.com/1/analytics_business_and_industry/
ฤทธิพล ไชยบุรี. (2562). พัฒนาทุนมนุษย์ในยุคไทยแลนด์ 4.0. วารสารวิทยาลัยสงฆ์นครลำปาง. 8 (1), 231-236.
สุภมาส อังศุโชติ, สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2554). สถิติวิเคราะห์สําหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์ : เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL . (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร:
สุวิมล ติรกานนท์. (2555). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. (2560). รายงานการวิเคราะห์แนวโน้มเทคโนโลยีและอุตสาหกรรม อุตสาหกรรมทางการแพทย์ครบวงจร. กรุงเทพมหานคร: สถาบันทรัพย์สินทางปัญญาแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สาธารณสุข. (2559). แผนยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ ๒๐ ปี (ด้านสาธารณสุข). ออนไลน์. สืบค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2565. แหล่งที่มา: http://www.oic.go.th
อริสรา อัครพิสิฐ. (2564). อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจรของประเทศไทย : ศักยภาพและโอกาส. สยามวิชาการ 22 (2), 18-36
Caruana A (2002) Service loyalty: The effects of service quality and the mediating role of customer satisfaction. European Journal of Marketing. 36 (7), 811-828.
Durrah, O. (2015). The role of human capital in building a competitive advantage in private hospitals. European Journal of Economics, Finance and Administrative Sciences,
, 136-150.
Ebrahim, A., & Ganguli, S. (2019). A comparative analysis of medical tourism competitiveness of India, Thailand and Singapore. Tourism, 67 (2), 102-115.
Emmett, D., & Chandra, A. (2013). A Comparative Analysis of Patient’s Views of Physician Office Visits in United States and India—A Valuable Comparative Analysis of Physician Office Marketing Strategies. Journal Of Health Management, 15 (1), 15-28. doi: 10.1177/09720 63413486025
Fernando, H., Yusoff, K. S., Khatibi, A., & Azam, F. (2019). A review on human capital; Two
principal ideas predominantly Generic Human Capital and Specific Human capital for
Organizational Performance. European Journal of Economic and Financial Reserch, 3 (5), 35-47. doi: 10.5281/zenodo.3517128
Gupta, K. S., & Rokade, V. (2016). Importance of Quality in Health Care Sector: A Review. Journal of Health Management 18 (1), 84 – 94.
Hair, J. F., Black, W. C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis (7thed.). Upper Saddle River, NJ: Pearson Prentice Hall.
Neupane, R., & Devkota, M. (2017). Evaluation of the impacts of service quality dimensions on patient/ customer satisfaction: A study of private hospitals in Nepal. International Journal of Social Sciences and Management, 4 (3),165-176. doi.org/10.3126/ijssm.v4i3.17520
Nuryakin, N. (2018). Competitive advantage and product innovation: Key success of batik SMEs marketing performance in Indonesia. Academy of Strategic Management Journal, 17(2), 1-17.
Murti, A., Deshpande, A., & Srivastava, N. (2013). Service Quality, Customer (Patient) Satisfaction and Behavioural Intention in Health Care Services: Exploring the Indian Perspective. Journal Of Health Management, 15 (1), 29-44. doi: 10.1177/09720634134 86035
Upadhyai, R., Jain, A. K., Roy, H., & Pant, V. (2019). A Review of Healthcare Service Quality
Dimensionsand their Measurement. Journal of Health Management, 21 (1), 102-127
Sarwani, Mursinto, D., & Khuzaini. (2019). The effect of service quality and patient value on the patient satisfaction and loyalty. International Journal of economic, Business and Management Research, 3 (4), 88-109.
Savitri, E., & Syahza, A. (2019). Effect of human capital and competitive strategies against the financial performance of small and medium enterprises. International Journal of Scientific & Technology Research, 8 (4), 86-92.
Wright, P. M. & McMahan, G. C. (2011). Exploring Human Capital: Putting Human Back into Strategic HRM. Human Resource Management, 21 (2) 93-104.