การพัฒนาชุดการเรียนรู้เพื่อฝึกทักษะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาปฐมวัยมหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม; Development of Learning Package Kit for Desirable Skill Practice of Students in Early Childhood Education Program at Chandrakasem Rajabhat University

Main Article Content

จินตนา สุขสำราญ Jintana Suksumran
วิภารัตน์ แสงจันทร์ Viparat Sangjun
ปราณี โพธิสุข Pranee Potisuk
ปิยะนันท์ หิรัญชโลทร Piyanan Hirunchalottor

Abstract

บทคัดย่อ

      การวิจยัคร้ังน้ีมีวตัถุประสงคด์ งัน้ี 1) เพื่อพัฒนาชุดการเรียนรู้เพื่อฝึ กทักษะที่พึงประสงค์ของ นักศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม 2) เพื่อหาคุณภาพและศึกษาผลการใช้ชุดการเรียนรู้เพื่อ ฝึ กทักษะที่พึงประสงค์ของนักศึกษาปฐมวัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม กลุ่มตวัอย่างที่ใชใ้นการวิจยั คร้ังน้ีคือ นักศึกษาปฐมวัย จ านวน 30 คน เป็ นอาสาสมัคร เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยคร้ังน้ีไดแ้ก่ 1) ชุด การเรียนรู้เพื่อฝึ กทักษะที่พึงประสงค์ 2)แบบทดสอบความรู้ความเขา้ใจเกี่ยวกบั ทกัษะ ที่พึงประสงค์ 3) แบบประเมินทักษะที่พึงประสงค์4)แบบสะท้อนคิด และ 5)คา ถามสา หรับสนทนากลุ่ม สถิติที่ใชใ้นการ วิเคราะห์ข้อมูลประกอบด้วย การวิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณ ได้แก่ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบน มาตรฐาน และการทดสอบค่าที(t-test dependent) และการวิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพใช้การวิเคราะห์ เน้ือหา (Content analysis) ผลการวิจยัพบวา่ ชุดการเรียนรู้มี 6 ชุด ประกอบด้วย ทักษะการคิดวิเคราะห์ การคิดสังเคราะห์ การคิดสร้างสรรค์ การคิดแกป้ ัญหา การสืบค้นข้อมูล และทกั ษะการสื่อสาร มีความสอดคลอ้งกบัแนวคิด และทฤษฏีที่ เกี่ยวขอ้งโดยมีค่าดชั นีความสอดคล้อง (IOC) อยู่ระหว่าง 0.66-1.00 และการประเมินของผู้เชี่ยวชาญ พบวา่ ผู้เชี่ยวชาญให้คะแนนการประเมินดา้นคา ช้ีแจงในการใชชุ้ดการเรียนรู้เน้ือหา กิจกรรมการเรียนการ สอน และการวดัผลประเมินผลอยู่ในระดบัดีมาก(มีค่าเฉลี่ยอยู่ระหว่าง 4.00–5.00) ผลของการใช้ชุดการ เรียนรู้พบวา่ นกัศึกษากลุ่มตวัอยา่ งที่ใชชุ้ดการเรียนรู้มีคะแนนทกัษะที่พึงประสงคส์ ูงกวา่ ก่อนการใชอ้ย่าง มีนัยส าคัญทางสถิติที่ระดับ .01และจากการสนทนากลุ่มนักศึกษาไดแ้ สดงความคิดเห็น พบว่า ชุดการ เรียนรู้สามารถนา ไปใชส้ า หรับการปฏิบตัิงานในวิชาชีพครูปฐมวยัและการดา เนินชีวิตต่อไปได้


Abstract

              The aims of this research were 1) to develop a learning package for promoting desirable skills of students in Early Childhood Program at Chandrakasem Rajabhat University (CRU), and 2) to find the quality and study the result of learning package for promoting desirable skills of students in Early Childhood Program at Chandrakasem Rajabhat University (CRU). The sample was 30 students. The research instruments for collecting the data were 1) Learning package for promoting desirable skills, 2) Knowledge and understanding test of learning package for promoting desirable skills, 3) Evaluation form of learning package for promoting desirable skills, 4) Reflex thinking skill form, 5) Questions for focus group. The data were analyzed by percent, mean, standard deviation, t-test dependent and content analysis. The results of this research found: The learning package includes 6 subsets that were 1) Analytic thinking skill. 2) Synthetic thinking skill. 3) Creative thinking skill. 4) Solving problem and thinking skill. 5) Search-engine skill. And 6) Communication skill and accords with the theory by IOC between 0.66–1.00 and the evaluation by experts found the explanation, activity and evaluation were at a good level, (mean = 4.00–5.00) The post-test scores were significantly higher than the pre-test scores at the level of 0.01. From focus group, this learning package could suitably be brought to apply and practice in the class of early childhood education and life learning.

Article Details

Section
Dissertations