พิธีกรรมความเชื่อในการฟ้อนผีมดผีเม็งแบบล้านนา ; Rite and Belief of Mod Meng Ghost Dance in Lanna

Main Article Content

พงศธร คัณฑมนัส ; ศุภกฤษ เมธีโภคพงษ์ ; หนูม้วน ร่มแก้ว Pongsatorn Kantamanat ; Supakrit Meteepokapong ; Noomuan Romkeaw

Abstract

บทคัดย่อ

            การวิจัย เรื่องพิธีกรรมความเชื่อในการฟ้อนผีมดผีเม็งแบบล้านนา ผ่านภาพยนตร์สารคดี เรื่องประเพณีฟ้อนผีมดผีเม็งแบบล้านนา มีวัตถุประสงค์ เพื่อสร้างและหาประสิทธิภาพ ประสิทธิผล         ทั้งก่อนและหลังรับชมภาพยนตร์สารคดี และเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อภาพยนตร์สารคดี โดยกลุ่มตัวอย่างที่ประเมินประสิทธิภาพของภาพยนตร์สารคดีคือ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหาของสารคดี 2 ท่าน ด้านเทคนิคด้านสื่อภาพนิ่งและภาพเคลื่อนไหว 2 ท่าน ด้านคุณภาพเสียง 2 ท่าน รวมผู้เชี่ยวชาญประเมินรวม 6 ท่าน และกลุ่มตัวอย่างที่ประเมินประสิทธิผลและความพึงพอใจ คือ ประชาชนที่อาศัยอยู่ในเขตหมู่ 1 ตำบลช้างเผือก อำเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ จำนวน 30 คน โดยใช้เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย  1) แบบประเมินประสิทธิภาพของภาพยนตร์สารคดี  2) แบบประเมินความรู้ความเข้าใจ ในภาพยนตร์สารคดี  3) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อภาพยนตร์สารคดี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและวิเคราะห์ดัชนีประสิทธิผล

                        ผลการวิจัยพบว่า

                        1. ภาพยนตร์สารคดี เรื่อง ประเพณีการฟ้อนผีมดผีเม็งแบบล้านนาที่มีความเชื่อเพื่อแสดงความเคารพต่อบรรพบุรุษของชาวล้านนา ในการประกอบพิธีกรรม จนกลายมาเป็นประเพณีที่สืบทอดต่อๆกัน มีค่าเฉลี่ยความเหมาะสมเท่ากับ 4.78 ภาพยนตร์สารคดี เรื่อง ประเพณีฟ้อนผีมดผีเม็งแบบล้านนาและมีประสิทธิภาพจากการประเมินโดยผู้เชี่ยวชาญอยู่ในระดับดีมาก

                2. ดัชนีประสิทธิผลของภาพยนตร์สารคดีก่อนและหลังรับชม มีค่าเท่ากับ 0.80 กลุ่มตัวอย่างมีความก้าวหน้าทางการเรียนรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 80.26

                3. ความพึงพอใจของประชาชนที่ได้ชมภาพยนต์ ที่ได้ชมภาพยนตร์สารคดีมีค่าเฉลี่ยในระดับมากที่สุด

Abstract

                This research aimed to create a documentary film about traditional media Mod Meng ghost dance in Lanna, to study the effectiveness of the documentary film before and after watching the film and to study the level of satisfaction of the audience with the documentary film. The samples to evaluate the efficiency included 6 experienced personnel, the film content, sound quality, and the quality of the film. The samples to evaluate the effectiveness and level of satisfaction were 30 people living in Moo 1, Tambon Changpuek, Muang, Chiang Mai. The research instruments were  1) a form for assessing the efficiency of the documentary film,  2) a form for assessing the effectiveness of the documentary film and  3) a form for assessing the level of satisfaction with the film. The statistical information obtained to analyse the data were:  Mean (),Standard deviation (S.D.) and The effectiveness index (E.I.).

                The findings are as follows:

                1) The researcher can produce documentary tradition of the media Mod Meng ghost dance in Lanna. 2) The results showed that the documentary film had efficiency at a very good level

( = 4.78, S.D. = 0.29)  

                2) with the effectiveness of the film, before and after the viewing, being equal to 0.8026 white that of a progressive learning, with increasing as percentage to 80.26

                3) The level of satisfaction with the film was at the total average showing the highest level of satisfaction ( = 4.73, S.D. = 0.43).

Article Details

Section
Dissertations