ปัจจัยสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่ส่งผลต่อพฤติกรรมด้านจิตสาธารณะ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์; Environmental Factors in Schools Affecting Public Mind Behaviors of Prathomsuksa Six Students Under the Nakhon Saw

Main Article Content

สิรินาฎ วารินสุข ; ไชยรัตน์ ปราณี ; สุพัฒนา หอมบุปผา Sirinat Warinsook ; Chairat Pranee ; Supattana Hombubpha

Abstract

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยสภาพแวดล้อมในโรงเรียนกับพฤติกรรมด้านจิต
สาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์และ
เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยสภาพแวดล้อมในโรงเรียนกับพฤติกรรมด้านจิตสาธารณะพร้อมกับ
สร้างสมการพยากรณ์พฤติกรรมด้านจิตสาธารณะของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 สานักงานเขตพื้นที่
การศึกษาประถมศึกษานครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ภาคเรียนที่ 2 ปี
การศึกษา 2556 จานวน 384 คน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยเป็นแบบสอบถาม
วิเคราะห์ข้อมูลโดยหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์
สัน และการวิเคราะห์สมการถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัยพบว่า
1. ปัจจัยสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่มีผลต่อพฤติกรรมจิตสาธารณะของนักเรียนในภาพรวม อยู่
ในระดับเหมาะสมมากและมีพฤติกรรมด้านจิตสาธารณะอยู่ในระดับนานๆ ครั้ง
2. ปัจจัยสภาพแวดล้อมในโรงเรียนที่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมด้านจิตสาธารณะของนักเรียน
อย่างมีนัยสาคัญทางสถิติที่ระดับ .05 คือ ปัจจัยด้านอิทธิพลกลุ่มเพื่อน ด้านกิจกรรมนักเรียน ด้านการ
จัดการเรียนการสอน ด้านพฤติกรรมครูและด้านอาคารสถานที่
3. ตัวแปรพยากรณ์ที่สามารถพยากรณ์พฤติกรรมด้านจิตสาธารณะได้แก่ ตัวแปรพยากรณ์ ด้าน
อิทธิพลกลุ่มเพื่อน และด้านพฤติกรรมครูซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์สหพันธ์พหุคูณที่เกิดจากการนาตัวแปร
พยากรณ์ทั้งสองเท่ากับ .480 และค่าประสิทธิภาพการพยากรณ์ คิดเป็นร้อยละ 23 เขียนเป็นสมการ
พยากรณ์ ได้ดังนี้
Y` = 1.509 + 0.250X7 + 0.048X3
Z` = 0.457ZX7 + 0.092ZX3

Abstract
The purposes of this study were to examine environmental factors and public mind behaviors of
Prathomsuksa 6 students enrollees in schools administered by Nakhon Sawan Educational Service Area Office
The researcher also examined the relationships between these environmental factors and these public mind
behaviors. The sample of the study comprised 384 students in Prathomsuksa Six students enrolled in the first
semester of the academic year 2013 obtained by the stratified random sampling method. The research
instrument was a tripartite questionnaire. The statistics used in this study were percentage, mean, standard
deviation, Pearson product-moment correlation coefficient, multiple regression analysis, and the researcher
selected variables for the predictive equations through applications of the stepwise method. The results of the
research were as follows:
1. In respect environmental factors at the schools in question affected students’public mind behaviors
at the high level of appropriateness. The public mind behaviors of the students under study were found to be at
the level of behaviors with low frequency.
2. The factors on the influence of friends, student activities, instruction and study, teacher behaviors
and school facilities all affected the public mind behaviors of the students, statistically significant at the level of
.05.
3. The variables predictive of student public mind behaviors at the statistically significant level of .05
were the influence of friends and teacher behaviors with a multiple correlation coefficient value of 0.480 and a
standard predictive error which accounted for 23 percent and the equations for prediction are as follows:
Y` = 1.509 + 0.250X7 + 0.048X3
Z` = 0.457ZX7 + 0.092ZX3

Article Details

Section
Academic Articles