แนวทางการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในอาเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์

Main Article Content

ศรัญญา พชิราปภาพัชร
ทีปพิพัฒน์ สันตะวัน

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อ ศึกษาสภาพความขัดแย้งในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในอาเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ และนาเสนอแนวทางการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในอาเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา/รองผู้บริหารสถานศึกษาและครูผู้สอน ปีการศึกษา 2554 จานวน 181 คน ซึ่งได้มาโดยการเปิดตารางของเครซี่และมอร์แกน (Krejcie and Morgan) และใช้การสุ่มอย่างง่าย (Simple random sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามชนิดประมาณค่า 5 ระดับ (Rating scale) มีค่าความเที่ยงเท่ากับ 0.90 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ค่าสถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน

ผลการวิจัยพบว่า

1. สภาพความขัดแย้ง ของสถานศึกษาในเขตอาเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ ในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่าด้านที่มีความขัดแย้งสูงที่สุดได้แก่ความขัดแย้งด้านค่านิยม รองลงมาคือความขัดแย้งด้านข้อมูล ความขัดแย้งด้านความสัมพันธ์ ความขัดแย้งด้านผลประโยชน์ และความขัดแย้งด้านโครงสร้าง ตามลาดับ ข้อที่มีความขัดแย้งสูงที่สุด ได้แก่ การสื่อสารถึงข้อมูลไม่ชัดเจน การประพฤติปฏิบัติตนอย่างไม่เท่าเทียมกัน การยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง การให้ความช่วยเหลือเฉพาะพวกพ้อง และการมอบหมายงานไม่ตรงกับความต้องการของบุคคล

2. แนวทางการจัดการความขัดแย้งของผู้บริหารสถานศึกษาในเขตอาเภอไพศาลี จังหวัดนครสวรรค์ มีดังนี้ ด้านค่านิยม ผู้บริหารควรมีการกระจายอานาจหน้าที่อย่างทั่วถึง เพื่อให้ผู้ปฏิบัติงานลดการยึดตนเองเป็นศูนย์กลาง ด้านข้อมูล ผู้บริหารควรกาหนดให้ทุกฝ่ายสื่อสารโดยจัดทาเป็นเอกสาร เพื่อให้การสื่อสารมีความชัดเจนมากขึ้น ด้านความสัมพันธ์ ผู้บริหารควรส่งเสริมให้ทุกฝ่ายปฏิบัติต่อผู้อื่นอย่างเป็นกลาง เพื่อลดการประพฤติปฏิบัติตนอย่างไม่เท่าเทียมกัน ด้านผลประโยชน์ ผู้บริหารควรส่งเสริมระบบคุณธรรมและต่อต้านระบบอุปถัมภ์ เพื่อลดการให้ความช่วยเหลือเฉพาะพวกพ้อง และด้านโครงสร้าง ผู้บริหารควรมีการสอบถามความต้องการของผู้ปฏิบัติงานก่อนมอบหมายงาน เพื่อลดความไม่พอใจในการปฏิบัติงาน

 

Abstract

This research aimed to study the conflict state and to show conflict management approaches of school administrators in Phaisali, Nakhon Sawan. The samples were 181 school administrators and teachers of academic year 2011, sampled by simple random sampling. The instrument used for data collection was a 5-point rating scale questionnaire with an alpha reliability of 0.90. The statistics for data analysis were percentage (%), mean (\dpi{100} \bar{X}) standard deviation (S.D.).

The results of this research were as follows:

1. Conflict of school Administrators in Phaisali district, Nakhon Sawan province as a whole was at a moderate level. Specifically, values conflict, data conflict, relationship conflict, interest conflict and structural conflict were rated “high”, ranked in order from the highest scores to the lowest, respectively. The highest level conflicts were communication obstruction, unequal behavioral performance, being self-centered, giving assistance only to one own group and role conflict.

2. Conflict administration approaches of school administrators in Phaisali district, Nakhon Sawan Province were as follows: Values: executives must decentralize the duty throughout so that the officers decrease sticking oneself to being self-centered. Data: executives should require all sectors to communicate through documents for clearer communication. Relationship: executives should encourage every side to treat others impartially to decrease unequal performance. Interest: executives should encourage virtue system and resist the patronage system to decrease assistance giving to only one own group. Sructural: executives are supposed to inquire the requirements of the officers before giving assignments for decreasing the dissatisfaction of the performers.

Article Details

Section
Academic Articles