ภาพยนตร์สารคดี ตุงล้านนากับวิถีชีวิตคนไทยล้านนา

Main Article Content

ศุภลักษณ์ อภัยใจ
ศุภกฤษ เมธีโภคพงษ์
หนูม้วน ร่มแก้ว

Abstract

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิภาพ ประสิทธิผลก่อนและหลังรับชมภาพยนตร์สาร คดี และเพื่อศึกษาความพึงพอใจต่อภาพยนตร์สารคดี กลุ่มตัวอย่างที่ประเมินประสิทธิภาพของภาพยนตร์ สารคดีคือ ผู้เชี่ยวชาญด้านเนื้อหา 2 ท่าน ด้านเทคนิค 2 ท่าน และด้านเสียง 2 ท่าน รวม 6 ท่าน กลุ่มตัวอย่าง ที่ประเมินประสิทธิผลและความพึงพอใจคือ นักศึกษาชั้นปีที่ 3 ปีการศึกษา 2554 สาขาวิชาเทคโนโลยี การศึกษา คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ จำนวน 40 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ประกอบด้วย 1) แบบประเมินประสิทธิภาพของภาพยนตร์สารคดี 2) แบบประเมินความรู้ความเข้าใจใน ภาพยนตร์สารคดี 3) แบบประเมินความพึงพอใจที่มีต่อภาพยนตร์สารคดี สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ 1) ค่าเฉลี่ย 2) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและ3) ดัชนีประสิทธิผล

ผลการวิจัยพบว่า ภาพยนตร์สารคดีมีประสิทธิภาพอยู่ในระดับดีมาก ( \bar{X} = 4.80, S.D. = 0.29) มี ดัชนีประสิทธิผลของภาพยนตร์สารคดีก่อนและหลังรับชมพบว่ามีค่าเท่ากับ 0.7997 กลุ่มตัวอย่างมี ความก้าวหน้าทางการเรียนรู้เพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 79.97 และความพึงพอใจที่มีต่อภาพยนตร์สารคดี มี ค่าเฉลี่ยรวมอยู่ในระดับพึงพอใจมากที่สุด ( \bar{X} = 4.80, S.D. = 0.46)

 

Abstract

The purposes of this study were to study the efficiency and effectiveness of the documentary film before and after watching the film and to study the satisfaction of the audience toward the documentary film. The samples of evaluate the efficiency included 6 experienced personnel, in the films content, sound quality, the quality of the film. The samples to evaluate the effectiveness and satisfaction were 40 in third year students who, studying Technology from the Faculty of Education in Rajabhat Chiang Mai University year 2011. The research instruments were 1) a form for assessing the efficiency of the documentary film 2) a form for assessing the effectiveness of the documentary film and 3) a form for assessing the satisfaction toward the film. The statistical information obtained was analyse the data. 1) Mean 2) Standard deviation and 3) The effectiveness index

The results showed that the documentary film had the efficiency at the very good level ( \bar{X} = 4.80, S.D. = 0.29) with the effectiveness of the film, before and after the viewing, being equal to 0.7997 of a progressive learning, increasing as percentage to 79.97% and satisfaction of the film at the total average showing the highest level of satisfaction ( \bar{X} = 4.80, S.D. = 0.46)

Article Details

Section
Academic Articles