การพัฒนากลยุทธ์การบริหารงานพัสดุของสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38 Strategy Development for Procurement Management of Secondary Schools Under Secondary Educational Service Area Office 38

Main Article Content

จันจิรา อินต๊ะยะ และคณะ Janjira Intaya and Others
ทวนทอง เชาวกีรติพงศ์ Tuanthong Chaowakeeratiphong
ปาจรีย์ ผลประเสริฐ Pajaree Polprasert

Abstract

The purposes of this research were (1) to study the states, problems and factors related to the procurement management, (2) to develop strategies for the procurement management, and (3) to evaluate the strategies for the procurement management. The population comprises 141 the school Administrators, chief of the procurement and officer procurement, for development and evaluation the strategies by 77 experts. Data were collected through the use of questionnaire, interview, workshop, connoisseurship and assessment form. The data were analyzed using mean, standard deviation and content analysis.   


             The research finding were as follows:  1. The states were found that each the schools had procurement arrangements, problems and factors found lack of knowledge in personnel, abilities, experiences, and being experts on procurement and the procurement laws, technology were change have difficult and take a long time to understand. 2. As for the development of the strategies consisted of the vision, goals, strategic issues, strategies, indicators and measures. The 7 developed strategies consisted of 1) developing the competency of the procurement management for school administrators 2) developing the potential of the personnel working in the supplies of the educational institutions. 3) adjusting the roles of procurement personnel appropriate and comprehensive process for managing supplies The duty of the parcel operation of procurement  management. 4) developing of information system procurement management  in accordance with the change of law and regulations. 5) promoting the use of information technology systems for procurement  management. 6) development of procurement operations in accordance with the regulations of procurement management. In accordance with the regulations of procurement management and 7) strengthening cooperation with network procurement management. 3. The results of the evaluation were found consistent, suitable, and the utility at a high level.

Article Details

Section
Research Articles

References

การคลังและสินทรัพย์, สำนัก. (2559). รายงานผลโครงการติดตามผลบริหารงบประมาณปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานในระบบบริหารงานการเงินการคลังภาครัฐแบบอิเล็กทรอนิกส์ GFMIS และระบบการจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐด้วยอิเล็กทรอนิกส์ e-GP ของหน่วยงานในสังกัด โดยความร่วมมือระหว่างกรมบัญชีกลางกับสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพ : ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38, สำนักงาน. (2562). คู่มือปฏิบัติงานสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38. สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 38. กระทรวงศึกษาธิการ.

คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน, สำนักงาน. (2562). นโยบายสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ปีงบประมาณ พ.ศ. 2563 OBEC’ POLICY 2020. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

คณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ, สำนักงาน. (ม.ป.ป). คู่มือเทคนิคและวิธีการบริหารจัดการสมัยใหม่ตามแนวทางการบริหารกิจการบ้านเมืองที่ดี. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ.

คำนาย อภิปรัชญาสกุล. (2553). หลักการจัดซื้อ. กรุงเทพฯ: โฟกัสมีเดีย แอนด์ พับลิชชิ่ง.

ฐิติรัตน์ จันทร์ดารา. (2560). เทคโนโลยีสารสนเทศกับการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารงานพัสดุของสถาบันอุดมศึกษา. วารสารมหาวิทยาลัยคริสเตียน, 23(2). 322.

ณิศภาพรรณ คูวิเศษแสง. (2552). จริยธรรมในการบริหารงานพัสดุ. กรุงเทพฯ: อักษรไทย.

ธนาชัย สุขวณิช, และพรชัย อรัณยกานนท์. (2557). การบริหารเชิงกลยุทธ์.กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ล เอ็ดดูเคชั่น.

ธรรมนิตย์ สุมันตกุล. (2561). การจัดซื้อจัดจ้างภาครัฐ : หลักการ เหตุผล และวิธีการ. กรุงเทพฯ : วิญญูชน.

บุปผา ไชยแสง. (2557). การใช้สารสนเทศเพื่อการบริหารจัดการพัสดุตามหลักธรรมาภิบาลของมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตปัตตานี. วารสารอินฟอร์เมชั่น. 21(2), 9.

ประเมินคุณธรรมและความโปร่งใส, สำนัก. (ม.ป.ป). รายละเอียดการประเมินคุณธรรมและความโปร่งใสในการดำเนินงานของหน่วยงานภาครัฐ (Integrity and Transparency Assessment: ITA) ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2563. สำนักงานคณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการทุจริตแห่งชาติ.

ประเวศน์ มหารัตน์สกุล. (2560). กลยุทธ์การวางแผนและการจัดการ (Strategic Planning & Management). กรุงเทพฯ: ส.เอเชียเพรส (1989).

เลขานุการของคณะกรรมการยุทธ์ศาสตร์ชาติ, สำนักงาน. (2561). ยุทธศาสตร์ชาติ พ.ศ. 2561-2580. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

วิจัยและพัฒนาระบบงานบุคคล, สำนัก. (2560). ระบบราชการไทยในบริบทไทยแลนด์ 4.0. กรุงเทพฯ: สำนักงาน ก.พ..

ศึกษาธิการ, กระทรวง. (2562, 27 ธันวาคม). ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องนโยบายและจุดเน้น ของกระทรวงศึกษาธิการ ปีงบประมาณ พ.ศ.2564.

สกล บุญสิน. (2560). การจัดการทรัพยากรมนุษย์. เชียงใหม่: ศูนย์บริหารงานวิจัย มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

สิริพรรณ อัชวสัจกุล. (2561). แผนปฏิรูปองค์การ ก้าวสู่ระบบราชการ 4.0 กับการรองรับประเทศไทย 4.0. วารสารการเงินการคลัง, 30(97), 94.

David. Fred R., (2011). Strategic management: Concepts and cases. (13 th ed). New Jersey: Prentice Hall.

Mahapatro.B.B. (2010). Human resource management. New Delhi: New age international.

Rao. V S P, (2015). Strategic management. Retrieved 17 April 2020, from

https://studentzonengasce.nmims.edu/content/Strategic%20Management/Strategic_Manage

ment_lBdA3TJvQg.pdf.