รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีต้นจากในชุมชนย่านซื่อ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในชุมชนย่านซื่อ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง และ 2) เสนอรูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีต้นจากในชุมชนย่านซื่อ อำเภอกันตัง จังหวัดตรัง ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพ เก็บข้อมูลจากการสัมภาษณ์เชิงลึกกับผู้ให้ข้อมูลสำคัญ สัมภาษณ์จนพบความอิ่มตัวของข้อมูลที่จำนวน 15 คน ผลการวิจัยพบว่า 1) ชุมชนย่านซื่อมีองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4Hs ครบทั้ง 4 ด้าน ได้แก่ 1) ร่องรอยการอยู่อาศัย 2) ความเป็นแหล่งมรดก 3) ประวัติศาสตร์ และ 4) งานศิลปหัตถกรรม และ 2) รูปแบบการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีต้นจากในชุมชนย่านซื่อ คือ รูปแบบ EPSL Model ซึ่งเป็นรูปแบบการพัฒนาที่เชื่อมโยงการจัดการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีต้นจาก โดยนำองค์ประกอบ EPSL มาจัดการร่วมกับองค์ประกอบของการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม 4Hs โดยจัดการ
ด้านสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการเรียนรู้ เน้นการมีส่วนร่วมของผู้เกี่ยวข้อง ส่งเสริมให้เกิดการเล่าเรื่องราวและ
การเรียนรู้ด้านวัฒนธรรมวิถีต้นจากระหว่างนักท่องเที่ยวและชุมชน
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
กองบรรณาธิการขอสงวนสิทธิ์ในการตรวจและแก้ไขบทความที่เสนอเพื่อตีพิมพ์ในวารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต
บทความหรือข้อความคิดเห็นใด ๆ ที่ปรากฏในวารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต เป็นวรรณกรรมของผู้เขียนโดยเฉพาะคณะผู้จัดทำไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และไม่ใช่ความรับผิดชอบของมหาวิทยาลัยและคณะผู้จัดทำ / บรรณาธิการ
References
Boonmee, J. and T. Lakbanchong. 2020. The strategy for community-based tourism development in Trang province.
pp. 510-519. In: Proceedings of 6th National Conference on Tourism 2020: New Normal Tourism to Drive Local Economy. Ubon Rachathani University, Ubon Rachathani. (in Thai)
Cheablam, O. and B. Chanklap. 2020. Sustainable Nipa palm (Nypa fruticans Wurmb.) product utilization in Thailand. Scientifica 2020: 3856203, doi: 10.1155/2020/3856203.
Dokmai, A. and S. Ampailapsuk. 2022. Designing cultural heritage tourism trail on OTOP Nawatwithi sustainable Noen Kham community, Noen Kham subdistrict, Noen Kham district, Chai Nat province. Journal of Community Development and Life Quality 10(3): 263 -272. (in Thai)
Johansen, T. E. and M. Mehmetoglu. 2011. Indigenous tourism from a visitor’s perspective: An empirical examination of Valene L. Smith’s 4Hs at a Sami festival in Norway. Journal of Heritage Tourism 6(2): 129-141.
Kinnares, P. 2021. Development of participatory waste management model in the cultural tourism of Wat Mahathat community Nakhon Phanom province. Journal of Community Development and Life Quality 9(3): 366 -376. (in Thai)
Ministry of Tourism and Sports. 2020. Tourism Economic Review. Ministry of Tourism and Sports, Bangkok. 68 p. (in Thai)
Ministry of Tourism and Sports. 2022. Thai Tourism Towards Sustainability. Bangkok. 50 p. (in Thai)
Ninsa-nguandecha, J. 2018. Guidelines for cultural tourism management with a cooperation of Trang tourism partnership: A case study of vegetarian tradition in Kew Ong Yeah Shrine, Trang province. Research report. University of the Thai Chamber of Commerce, Bangkok. 191 p. (in Thai)
Phetchit, J., S. Buakhao, R. Unjan, R. Chuaymung and N. Thammachot. 2020. The opinion of the Nipa palm farmer in Wang Won sub district, Kan Tang district, Trang province. Journal of Science and Technology Songkhla Rajabhat University 1(1): 33-44. (in Thai)
Phomnimitkul, K., T. Putjorn and T. Vechpong. 2020. The culture management of the second-tier provinces to support local experience-based tourism under the LINK Project. Journal of Liberal Arts, Prince of Songkla University 12(1): 200-226. (in Thai)
Smith, V. 1996. Indigenous tourism: The four Hs. pp. 283-307 In: R.W. Butler and T.D. Hinch (eds.), Tourism and Indigenous Peoples International Thomson Business Press, Toronto.