ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนจากการเลี้ยงปลานิล ในเขตอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย

Main Article Content

แววดาว พรมเสน
วรีวรรณ เจริญรูป
พิทธินันท์ สมไชยวงค์

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนในการเลี้ยงปลานิลในเขตอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย โดยปัจจัยที่ทำการศึกษาประกอบด้วยปัจจัยทางการผลิต ปัจจัยทางการเงิน ปัจจัยทางการตลาด เก็บรวบรวมข้อมูลจากแบบสอบถามด้วยการสัมภาษณ์เชิงลึก (In-depth-interview) ทำการวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้นด้วยสถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์ความสัมพันธ์ด้วยสมการถดถอยเชิงพหุเชิงชั้น (Hierarchical Multiple Regression Enter Method) ผลการศึกษาพบว่า ปัจจัยทางการผลิตมีความสัมพันธ์กับการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนจากการเลี้ยงปลานิล ร้อยละ 91.60 โดยตัวแปรที่มีความสัมพันธ์ที่ระดับนัยสำคัญที่ 0.00 ประกอบด้วย เงินลงทุน และค่าเสื่อมราคา


 


 

Article Details

How to Cite
[1]
พรมเสน แ., เจริญรูป ว. และ สมไชยวงค์ พ. 2019. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์ต่อการวิเคราะห์จุดคุ้มทุนจากการเลี้ยงปลานิล ในเขตอำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 7, 2 (พ.ค. 2019), 203–214.
บท
บทความวิจัย

References

เกตุนภัส ศรีไพโรจน์, ณรงค์ กมลรัตน์, วิจิตรา ชัยมงคล และ วิชาญ อิงศรีสว่าง. 2558. ต้นทุนและผลตอบแทนการเลี้ยงปลานิงในกระชังในจังหวัดสกลนคร. วารสารแก่นเกษตร. 43(1): 588-594.
เกวลิน หนูฤทธิ์. 2560. รายงานสถานการณ์ค้าปลานิลและผลิตภัณฑ์. ส่วนเศรษฐกิจการประมง. กรุงเทพฯ.
เบญจมาศ อภิสิทธิ์ภิญโญ. 2555. การบัญชีบริหาร. ซีเอ็ดยูเคชั่น, กรุงเทพฯ.
ประคุณ ศาลิกร และ โสมสกาว เพชรานนท์. 2559. การลงทุนเลี้ยงปลานิลเพื่อการพาณิชย์ในจังหวัดนครปฐม. วารสารเศรษฐศาสคร์และกลยุทธ์การจัดการ. 3(1): 40-54.
พรรณิภา รอดวรรณ. 2560. การบัญชีเกษตรกรรม: สินทรัพย์ชีวภาพ การแปรรูปเชิงชีวภาพและมูลค่ายุติธรรม. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www.fap.or.th/images/pulldown_ 477450849/FAPNews_22.pdf (20 มีนาคม 2560).
เริงชัย ตันสุชาติ อารีย์ เชื้อเมืองพาน ธรรชนก คำแก้ว และ ชนิตาพันธุ์มณี. 2556. ห่วงโซ่คุณค่าของปลานิลในจังหวัดเชียงใหม่และเชียงราย. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยแม่โจ้, เชียงใหม่.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์, ปริญ ลักษิตานนท์ และศุภร เสรีรัตน์. 2552. การบริหารตลาดยุคใหม่. พัฒนาศึกษา, กรุงเทพ.
สมนึก เอื้อจิระพงษ์พันธ์. 2555. การบัญชีต้นทุน (พิมพ์ครั้งที่ 6). แมคกรอ-ฮิล, กรุงเทพฯ.
สำนักวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. 2559. ศักยภาพการผลิตและการตลาดปลานิล. เอกสารวิจัยเศรษฐกิจการเกษตร. สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร, กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www.oae.go.th/download/article/article2009 0306163215.pdf (1 มีนาคม 2560).
อภิรดา สุทธิสานนท์, วันเพ็ญ วศินารมน์, สุภา ทองคง, จินตนา อาจหาญ, และนภาพร นิลาภรณ์กุล. 2560. การเงินธุรกิจ.ทริปเปิ้ลเอด, กรุงเทพฯ.
อานุภาพ วรรณคานาพล และประจวบ ฉายบุ. 2548. ปัจจัยที่มีผลต่อความพึงพอใจในการประกอบอาชีพการเลี้ยงปลาของเกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลในจังหวัดเชียงใหม่และจังหวัดเชียงราย. วิทยานิพนธ์ วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยแม่โจ้. เชียงใหม่.
Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J., & Anderson, R.E. 2010. Multivariate Data Analysis A Blobal Perspective 7th. Upper Saddle River, Pearson Prentice Hall, New Jersey.
Kotler, P. 1997. Marketing Management analysis planning implementation and control (9th ed.). Englewood Cliffs, Prentice-Hall, New Jersey.
Kotler, P. 2002. Marketing Management. Millenium Edition (10th ed.). Upper Saddle River, , Prentice-Hall, New Jersey.