การจัดการท่องเที่ยวสักการะพระเกจิอาจารย์ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช

Main Article Content

สุจิตราภรณ์ จุสปาโล

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาศักยภาพในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวสักการะพระเกจิอาจารย์และ 2) สร้างโปรแกรมการท่องเที่ยวสักการะพระเกจิอาจารย์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช เพื่อเชื่อมโยงไปยังแหล่งท่องเที่ยวใกล้เคียงโดยใช้วิธีการศึกษาจากการรวบรวมข้อมูลจากการสัมภาษณ์ การสนทนากลุ่ม การประชุมระดมความคิดเห็นเจ้าหน้าที่จากการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย และศูนย์การท่องเที่ยวกีฬาและนันทนาการของจังหวัดนครศรีธรรมราช ผู้ประกอบการธุรกิจการท่องเที่ยว ผู้นำชุมชน และประชาชนในท้องถิ่น ผลการศึกษาพบว่า ศักยภาพการจัดการแหล่งท่องเที่ยวสักการะพระเกจิอาจารย์ของจังหวัดนครศรีธรรมราช ในพื้นที่ศึกษาทั้ง 5 แหล่ง มีสภาพแตกต่างกันตามคุณค่าทางประวัติศาสตร์ ซึ่งส่งผลต่อสภาพความพร้อมของชุมชนในการจัดการแหล่งท่องเที่ยวมีโปรแกรมการท่องเที่ยวสักการะพระเกจิอาจารย์ของจังหวัดนครศรีธรรมราชที่เหมาะสมจำนวน 5 โปรแกรม โดยมีโปรแกรมการท่องเที่ยวสำเร็จรูป 2 วัน 1 คืน จำนวน 2 โปรแกรม โปรแกรมการท่องเที่ยวสำเร็จรูป 3 วัน 2 คืน จำนวน 1 โปรแกรม และโปรแกรมการท่องเที่ยวสำเร็จรูป 1 วัน จำนวน 2 โปรแกรม

Article Details

How to Cite
[1]
จุสปาโล ส. 2018. การจัดการท่องเที่ยวสักการะพระเกจิอาจารย์ ในจังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 1, 2 (ก.ค. 2018), 21–30.
บท
บทความวิจัย

References

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. 2545. คู่มือแนวทางการจัดการที่พักสัมผัสวัฒนธรรมชนบท. การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย, กรุงเทพฯ.

การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. 2550. สถิตินักท่องเที่ยวไทย ปี พ.ศ. 2550. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://www2.tat.or.th/stat/web/static_index.php (10 กรกฎาคม 2550).

มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี. 2550. ทรัพยากรการท่องเที่ยว. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://dit.dru.ac.th/home/023/travel_resource/index.html (15 มกราคม 2551).

สมาคมส่งเสริมเทคโนโลยี ไทย-ญี่ปุ่น. 2553. บทวิเคราะห์ธุรกิจโรงแรมและรีสอร์ท ปี 2553. สำนักงานพัฒนาหน่วยบริการอุตสาหกรรม, กรุงเทพฯ.

สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย. 2540. การดำเนินงานเพื่อกำหนดนโยบายการท่องเที่ยวเพื่อรักษาระบบนิเวศ รายงานผลการดำเนินการเสนอต่อการท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย. สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติไทย, กรุงเทพฯ.

สถาบันวิจัยสภาวะแวดล้อมจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. 2548. คู่มือการประเมินมาตรฐานคุณภาพแหล่งท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์. สำนักพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวกรมการท่องเที่ยวกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, กรุงเทพฯ.

โศจิลักษณ์ กมลศักดาวิกุล. 2556. การพัฒนาการจัดการท่องเที่ยวเชิงเกษตรทฤษฎีใหม่โดยชุมชน อำเภอเสาไห้ จังหวัดสระบุรี. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 1(1): 53-65.

Cooper, C., J. Fletcher, D.Gilbert and S. Wanhil. 1994. Tourism Principle and Practice. Pitman, London.

Greffe, X. 1994. Is rural tourism a lever for economic and social development. Journal of Sustainable Tourism 2: 22-40.

Lourens, M. 2007. Route Toursim: a roadmap for successful destinations and local economic development. Development Southern Africa 24(3): 475-490.

Meyer, D. 2004. Tourism routes and gateways: key issues for the development of tourism routes and gateway and their potential for pro-poor tourism. Overseas development Institute, London.

Mottiar, Z. 2006. Holiday home owners: a route to sustainable tourism development: an economic analysis expenditure data. Journal of Sustainable Tourism 14(6): 582-600.