การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และแปลงสาธิตเพื่อผลิตพืชผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษของกลุ่มเกษตรกรชุมชนช่อแล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่

Main Article Content

อัตถ์ อัจฉริยมนตรี

บทคัดย่อ

โครงการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประยุกต์ใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการผลิตพืชผักพื้นบ้านปลอดสารพิษ ณ ชุมชนช่อแล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่ โดยเก็บข้อมูลจากการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกัน โดยพืชผักพื้นบ้านที่สามารถเจริญเติบโตและให้ผลผลิตในแต่ละเดือนได้ดีบนพื้นที่แปลงสาธิต มีทั้งหมด 8 ชนิด ซึ่งผลผลิตเฉลี่ยรวมทั้งหมด เท่ากับ 1,866.96 กิโลกรัมต่อแปลง (10 ตารางเมตร) ต่อปี และผลการประเมินความพึงพอใจในการมีส่วนร่วมมีค่าเฉลี่ยรวมในระดับดี (4.18) การวิจัยนี้จึงเป็นการสนับสนุนให้เกษตรกรมีส่วนร่วมตั้งแต่การวิเคราะห์ปัญหา แสวงหาทางเลือก ร่วมเก็บและวิเคราะห์ข้อมูลพร้อมทั้งการเรียนรู้ผ่านแปลงสาธิต มีส่วนเสริมสร้างศักยภาพชุมชนให้สามารถทำการผลิตพืชผักพื้นบ้านปลอดสารพิษได้ตามความต้องการ

Article Details

How to Cite
[1]
อัจฉริยมนตรี อ. 2018. การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม และแปลงสาธิตเพื่อผลิตพืชผักพื้นบ้าน ปลอดสารพิษของกลุ่มเกษตรกรชุมชนช่อแล อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 5, 1 (มิ.ย. 2018), 118–128.
บท
บทความวิจัย

References

จตุรงค์ พวงมณี. 2550. ผักพื้นบ้านอาหารพื้นเมือง. นันทพันธ์พริ้นติ้ง, เชียงใหม่. 205 หน้า.

นพวรรณ บุญธรรม สุรพล ดำรงกิตติกุล และชมชวน บุญระหงส์. 2558. สมาร์ท-วิลเลจ: ตัวแบบการพัฒนาชุมชนอย่างยั่งยืน. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต 3(3): 249-259.

ปาริชาติ วลัยเสถียร. 2549. กระบวนการเรียนรู้และจัดการความรู้ชุมชน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย, กรุงเทพฯ. 159 หน้า.

พิทักษ์พงศ์ ป้อมปราณี. 2558. การขับเคลื่อนระบบเกษตรกรรมยั่งยืนอย่างมีส่วนร่วมของชุมชนบ้านคอกช้าง ตำบลแหลมบัว อำเภอนครชัยศรี จังหวัดนครปฐม. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ 7(1): 59-73.

พิสิทธิ์ รัตนะ ภรณี ต่างวิวัฒน์ และบำเพ็ญ เขียวหวาน. 2559. การมีส่วนร่วมของเกษตรกรในโครงการชุมชนต้นแบบเศรษฐกิจพอเพียงชุมชนบ้านถ่อนนาลับในจังหวัดอุดรธานี. วารสารแก่นเกษตร 44(ฉบับพิเศษ 1): 612-618.

เพ็ญแข ธรรมเสนานุภาพ ดาวเรือง มาจันทร์ และนิจพร มาจันทร์. 2559. กระบวนการเรียนรู้ร่วมกันเพื่อเสริมรายได้และลดต้นทุนการผลิตผักในท้องถิ่นของกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผักตำบลแวงน่าง อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิจัยเพื่อการพัฒนาเชิงพื้นที่ 8(2): 40-55.

สำนักส่งเสริมและสนับสนุนอาหารปลอดภัย. 2557. แนวทางการจัดทำแผนรับมือในภาวะฉุกเฉินความปลอดภัยอาหารของประเทศไทย. อักษรกราฟฟิกแอนด์ดีไซน์, กรุงเทพฯ. 74 หน้า.

อภิชาต ชมพูนุช โลภณ แท่งเพ็ชร์ อนุศักดิ์ จันทฉายา ทองคำ พรหมเย็น และศักดิ์ คำต๊ะ. 2556. การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบมีส่วนร่วมในระบบเกษตรชลประทานภาคเหนือเพื่อความมั่นคงอาหารของชุมชน. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://elibrary.trf.or.th/project_content.asp?PJID=RDG5620024 (7 มิถุนายน 2559).

อัตถ์ อัจฉริยมนตรี. 2556. แนวทางการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมของเกษตรกรเพื่อผลิตพืชผักปลอดภัยของชุมชนเมืองแกนพัฒนา อำเภอแม่แตง จังหวัดเชียงใหม่. (ระบบออนไลน์). แหล่งข้อมูล: http://vijai.trf.or.th/research/
project_content.asp?projID=RDG55N0024 (7 มิถุนายน 2559).

SUSTAINET EA. 2010. Technical Manual: Farmer Field School Approach. Sustainable Agriculture Information Initiative, (SUSTAINET EA), Nairabi. 20 p.

Wadsworth, Y. 1998. What is participatory action research? Action Research International, Paper 2. (Online). Available: http://www.scu.edu.au/schools/gcm/ar/ari/p-ywadsworth98.html (April 16, 2016).