การรับรู้ของเยาวชนผู้ชมรายการแดร็ก เรซ ไทยแลนด์ ต่อภาพตัวแทน ความเท่าเทียมทางเพศ และสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสำรวจการรับรู้ของเยาวชนผู้ชมรายการแดร็ก เรซ ไทยแลนด์ ต่อภาพตัวแทน ความเท่าเทียมทางเพศและสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศ การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative research) โดยผู้ให้ข้อมูลหลักเป็นเยาวชนผู้ชม จำนวน 36 คน ใช้การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive sampling) และแบบการแนะนำต่อ ๆ กัน (Snowball sampling ) เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้การสัมภาษณ์เชิงลึกและการวิเคราะห์เอกสารทั้งหน่วยงานของรัฐและเอกชน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีแก่นสาระและการตรวจสอบสามเส้า
ผลการวิจัย พบว่า
การรับรู้ของเยาวชนผู้ชมรายการแดร็ก เรซ ไทยแลนด์ต่อภาพตัวแทนของผู้มีความหลากหลายทางเพศเป็นเชิงบวกคือเป็นผู้ที่มีความสามารถด้านการให้ความบันเทิง มีความคิดสร้างสรรค์ การยอมรับจากครอบครัว เป็นกลุ่มบุคคลที่ปกติและเกิดการตระหนักถึงสิทธิทางเพศเพิ่มขึ้น ขณะเดียวกันเยาวชนรับรู้ว่าภาพตัวแทนมีความบิดเบี้ยวไม่ตรงกับความจริง ความเท่าเทียมทางเพศและสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศลดลง เนื่องจากการขาดความเข้าใจที่ลึกซึ้งของสื่อและผลประโยชน์ทางธุรกิจของผู้ผลิตรายการ ปัจจัยของกระแสโลกที่มีต่อประเด็นความหลากหลายทางเพศและการพัฒนาของสื่อที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ส่งผลให้การรับรู้ของเยาวชนต่อความเท่าเทียมทางเพศและสิทธิของผู้มีความหลากหลายทางเพศเพิ่มขึ้น
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
** ข้อความ ข้อคิดเห็น หรือข้อค้นพบ ในวารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสารเป็นของผู้เขียน ซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความและงานวิจัยนั้น ๆ โดยมิใช่ความรับผิดชอบของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี **
References
กฤตพล สุธีภัทรกุล. (2565, 18 มกราคม). ส่องปรากฏการณ์ “RuPaul’s Drag Race” ที่ไม่ได้มีแค่เกย์อีกต่อไป. https://www.bangkokbiznews.com/lifestyle/983191
กาญจนา แก้วเทพ. (2545). สื่อและวัฒนธรรมศึกษากับสังคมไทย. รัฐศาสตร์สาร, 23(3), 50-97.
ชุณิภา เปิดโลกนิมิต. (2562). การขับเคลื่อนในประเด็นสิทธิความหลากหลายทางเพศผ่านทางเฟซบุ๊กเพจของกลุ่มผู้มีความหลากหลายทางเพศในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยบูรพา.
ทูเดย์. (2566, 7 กุมภาพันธ์). คณะรัฐมนตรีเห็นชองแผนสิทธิมนุษยชนแห่งชาติฉบับที่ 5 ครอบคลุมกลุ่มหลากหลายทางเพศ. https://workpointtoday.com/politics-five0702/
นวลศิริ เปาโรหิตย์. (2551). จิตวิทยาสังคมเบื้องต้น. มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ปิยะนันท์ บุญณะโยไทย. (2556). การรับรู้และทัศนคติของผู้บริโภคต่อสื่อกิจกรรมการพัฒนาอย่างยั่งยืนของบริษัทปูนซีเมนต์ไทย จำกัด (มหาชน). [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.https://libdoc.dpu.ac.th/thesis/148539.pdf
ปิยลักษณ์ โพธิวรรณ์. (2555, 17 มิถุนายน). ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคมของคนข้ามเพศ. [วิทยานิพนธ์ดุษฎีมหาบัณฑิต].มหาวิทยาลัยขอนแก่น. https://shorturl.at/DOQW7
ประชาไท. (2563, 14 เมษายน). เปิดโลก Drag Queen. https://prachatai.com /journal /2019/04/82066
วราภรณ์ อินทนนท์. (2552). การรับรองสิทธิขั้นพื้นฐานแก่ปัจเจกชนบนพื้นฐานของความหลากหลายทางเพศ. [วิทยานิพนธ์นิติศาสตรมหาบัณฑิต ไม่ได้ตีพิมพ์]. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ว๊อยออนไลน์. (2564, 26 เมษายน). Drag Queen คือศิลปะ ฉันไม่ต้องการเป็นผู้หญิง. https//voicetv.co.th/read/BkZ2VaC3M
ว๊อยซ์ทีวี. (2019, 8 มกราคม). Drag Race Thailand Season 2 เปิดรับทุกเพศร่วมแข่งขัน. https://voicetv.co.th/read/w6ohAkOFC
ศิริพร ภักดีผาสุก. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างภาษากับอัตลักษณ์และแนวทางการนำมาศึกษาภาษาไทย. โครงการเผยแพร่ผลงานวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Behm-Morawitz, E., & Ortiz, M. (2013). Race, ethnicity, and the media, In K. E. Dill (Ed.), The Oxfordhandbook of media psychology (pp., 252-266). Oxford University Press.
Charuvastra, T. (2015, December 2). Mainstream media trades in worse LGBTQ stereotypes review finds.https:// www.khaosodenglish.com/life/2015/12/02/1449059474/
Engelmo, E. A. (2018). Gender identity in drag culture: A transitivity analysis of the discourse of drag queens. [Master Thesis]. Universidad de Valladolid, Valladolid, Spain. https://uvadoc.uva.es/bitstream/handle/10324/33214/TFG_F_2018_2.pdf?sequence=1&isAllowed=y
Saleem, M., & Ramasubramanina, S. (2019). Muslim American’responses to social identity threats: Effects of media representations and experiences of discrimination. Media Psychology, 22(3), 373-393.
Dougherty, C. (2017). Drag performance and femininity: Redefining drag culture through identity performance of transgender women drag queens. [Master’s Thesis]. Minnesota State University, https://cornerstone.lib.mnsu.edu/etds/730/.
Hall, S. (2003). Representation: Culture representation and signifying practice. SAGE Publications Ltd.
Hobbs, M. (2008, December 2-5). On discourse and representation: Reflections on Michel Foucault’s contribution to the study of the mass media. In Annual Conference of the Australian Sociological Association. University of Melbourne.
Horowitz, K. (2019). Drag, interperformance, and the trouble with queerness. Routledge.
Iserhienrhien, A. (2014). Gender, race, and the media representation of women in the Canadian 41stParliament: A critical discourse analysis. [Unpublished doctoral]. University of Saskatchewan
Itthipongmaetee, C. (2020, December 29). Send in the queens: Thai queer culture gets drag makeover. https://www.khaosodenlish.com/featured/2018/02/15/send-queens-thai-queer-culture-gets-drag-makeover/.
Jackson, P. A. (1995). Dear uncle go: Male. homosexuality in Thailand. Bua Luang Books.
Kornstein, H. (2020). Drag performance on screen. The international encyclopedia of gender, media, communication. John Wiley & Sons, Inc.
Phoovatis, W. (2019). Effect of language usage in news reports of sexuality in Thai media: Gender identityconflict. Kaseam Bundit Journal, 20(2), 72-87.
Reilly, A., & Barry, B. (Eds.). (2020). Crossing gender boundaries: Fashion to create, disrupt and transcend. Intellect Books.
Rupp, L. J., Taylor, V., & Shapiro, E. I. (2010). Drag queens and drag kings: The difference gender makes. Sexualities, 13(3), 275-294.
Singhakowinta, J. (2016). Reinventing sexual identities: Thai gay men’s pursuit of social acceptance. Journal of Language and Communication, 21(2), 18-40.
Sinnott, M. (2004). Toms and dees: Transgender identity and female same-sex relationships in Thailand. University of Hawaii Press.
Toomey, R. B., Ryan, C., Diaz, R. M., Card, N. A., & Russell, S. T. (2013, July 21). Gender-nonconforming lesbian, gay, bisexual, and transgender youth: School victimization and young adult Psychosocial Adjustment. Psychology of Sexual Orientation and Gender Diversity. 1(5), 71-80. https://doi.org/10.1037/2329-0382.1.S.71
Tukachinsky, R., Mastro, D., & Yarchi, M. (2015). Documenting portrayals of race/ethnicity on primetime television over a 20-year span and their association with national-level racial/ethnic attitudes. Journal of Social Issues, 7(1), 17-38.
UNDP Thailand. (2019). Tolerance but not inclusion: A national survey on experience of discrimination and social attitudes towards LGBT people in Thailand. [Research report]. Bangkok.
UNESCO. (2020, April 17). Media diversity and gender equality. https://www.unesco.org/en/gender-equality/media-gender-equality.
UNDP & UNSAID. (2014). Being LGBT in Asia: Thailand country report.
Wikipedia. (2021, November 25). Human right of LGBT people. http://surl.li/nnrzb.
Yong Matter. (2018, February 18). Drag queen is not cabaret show: Talking with Panpan Nakprasert, the co-host the Drag Race Thailand. https://thematter.co/entertainment/drag-race-thailand interview/45986.