การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัดระนอง

Main Article Content

กัญญามน กาญจนาทวีกูล
วรรณพร พุทธภูมิพิทักษ์
เปรมกมล เปรมกมล
ศิริญญา ศิริญญานนท์
นรินทร์ สังข์รักษา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาลักษณะศักยภาพของกลุ่มวิสาหกิจชุมชนในการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ชุมชน 2) พัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ และ 3) หาแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์ชุมชน ในจังหวัดระนอง การวิจัยนี้เป็นการเก็บข้อมูลด้วยระเบียบวิธีการวิจัยแบบผสมผสานระหว่างการวิจัยเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในวิจัยเชิงปริมาณ ได้แก่ นักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดระนอง ปี 2564 สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจง จำนวน 385 คน ใช้แบบสำรวจ และวิเคราะห์ข้อมูลค่าความถี่  ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบียนมาตรฐาน สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้สุ่มตัวอย่างแบบเจาะจงกับผู้ประกอบการกลุ่มวิสาหกิจชุมชนเชิงสุขภาพ โดยสัมภาษณ์เชิงลึก รวม 30 คน และทำการศึกษาเฉพาะกลุ่มวิสาหกิจชุมชนโกโก้เพื่อทำการพัฒนาและทดสอบผลิตภัณฑ์ และบรรจุภัณฑ์เพื่อหาแนวทางการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ ผลการวิจัยพบว่า 1) พบว่า จากการสำรวจกับกลุ่มนักท่องเที่ยวเชิงสุขภาพในจังหวัดระนอง จำนวน 385 คน ประเด็นสำคัญที่นักท่องเที่ยวให้ความสนใจ ในการพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพ ได้แก่ ผลิตภัณฑ์ของโกโก้แมส สำหรับผลจากการสัมภาษณ์ผู้ประกอบการ พบว่า ใช้กลยุทธ์เน้นการสื่อสารผ่านสื่อดิจิทัลมากขึ้น และใช้กลยุทธ์ทางการตลาดเพื่อสร้างเอกลักษณ์สินค้าพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์เฉพาะของชุมชน 2) พบว่ากลุ่มวิสาหกิจชุมชนโกโก้มีศักยภาพโดยเน้นต้นน้ำ กลางน้ำ และปลายน้ำสำหรับพัฒนาผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ที่นำไปสู่เชิงพาณิชย์ ใช้ฐานภูมิปัญญาและวัตถุดิบในท้องถิ่น
3) พบว่า กลุ่มวิสาหกิจชุมชนโกโก้มีแนวทางการพัฒนาให้ตรงกับความต้องการของตลาดอย่างต่อเนื่อง โดยเน้นการมีส่วนร่วมและให้ความรู้ของกลุ่มและนักท่องเที่ยว และสร้างเครือข่ายระหว่างกลุ่มเกษตรกร กลุ่มที่พักแรม กลุ่มร้านค้าอาหารและของที่ระลึก ทั้งนี้จากผลการวิจัยได้แนวทางการพัฒนาธุรกิจที่สอดคล้องกับรูปแบบโมเดลคานวาสที่สามารถยกระดับเศรษฐกิจชุมชนให้กับจังหวัดระนองได้

Article Details

How to Cite
กาญจนาทวีกูล ก., พุทธภูมิพิทักษ์ ว., เปรมกมล เ., ศิริญญานนท์ ศ., & สังข์รักษา น. (2023). การพัฒนาผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ชุมชนเพื่อส่งเสริมท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ จังหวัดระนอง. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 6(2), 37–48. https://doi.org/10.14456/issc.2023.23
บท
บทความวิจัย

References

เขมลักษณ์ คุปคีตพันธ์ และปริญญา บรรจงมณี.(2560). แนวทางการพัฒนาองค์ประกอบการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพของ

นักท่องเที่ยวชาวยุโรปในจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ Journal of Graduate Studies Valaya Alongkorn Rajabhat University.Vol. 14 No. 1 (January – April 2020).

ชัญญา ตันสกุล และ กัญญามน กาญจนาทวีกูล. (2562). การพัฒนาสมรรถนะบุคลากรด้านอุตสาหกรรมการท่องเที่ยว

และบริการตามกรอบอาเซียนของสถานประกอบการเขตพื้นที่ภาคใต้ฝั่งอันดามัน. วารสารวิชาการ สถาบันเทคโนโลยีแห่งสุวรรณภูมิปีที่ 6 ฉบับที่ 2 กรกฎาคม – ธันวาคม 2563.หน้าที่ 23-42

ธัญญ์รวี ธรศิริปุณโรจน์ กฤษฎา ตันเปาว์ และ กัญญามน กาญจนาทวีกูล (2562).กลยุทธ์การตลาดสู่ ความสำเร็จของการประกอบธุรกิจผลิตภัณฑ์สปาผ่านช่องทางดิจิทัลในเขต กรุงเทพมหานครและปริมณฑล วารสารสมาคมนักวิจัย ปีที่ 24 ฉบับที่ 1 มกราคม –เมษายน 2562.หน้า 72-84.

เมทินี ทะนงกิจ, ฐาศุกร์ จันประเสริฐ และศยามล เอกะกุลานันต. (2561). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ กรณีศึกษาวิสาหกิจชุมชนท่องเที่ยวบ้านน้ำเชี่ยว. วารสารวิชาการการท่องเที่ยวไทยนานาชาติ คณะการจัดการการท่องเที่ยว สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์ ปีที่ 14 ฉบับที่ 1 (2018).

สมชาย ชมภูน้อย. (2561). แนวทางการเพิ่มมูลค่าท่องเที่ยวชุมชน กรณีศึกษา ชุมชนบ้านเชียงจังหวัดอุดรธานี.วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักรสถาบันวิชาการป้องกันประเทศ.http://www.dsdw2016.dsdw.go.th/doc_pr/ndc_2560-2561/8541e.html

สมชาย น้อยฉ่ำ, วรินทรธร ธรสารสมบัติ และสุภา แสงจินดาวงษ์ (2018). การบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชน อำเภออัมพวา จังหวัดสมุทรสงคราม. KASEM BUNDIT JOURNAL, 19(March), 130–139. Retrieved from https://so04.tci-thaijo.org/index.php/jkbu/article/view/117334

Chanya Tansakul and Kanyamon Kanchanathaveekul. (2019). Developing personnel competence in tourism and hospitality industry under ASEAN framework of small and medium enterprises in Phuket, Thailand, 2019 APacCHRIE & EuroCHRIE Joint Conference (22- 25 May 2019, Hong Kong).

Cochran, W.G. (1977). Sampling Techniques. 3d ed. New York: John Wiley and Sons Inc.

Cosenz, F. & Noto, G. (2017). A dynamic business modelling approach to design and experiment new business venture strategy. Long Range Planning, http://dx.doi.org/10.1016/j.Irp.2017.07.001

Global Wellness Institute. (2014). The Global Wellness Tourism Economy 2013. สืบค้นเมื่อวันที่

พฤศจิกายน 2563. จาก http://www.globalwellnesssummit. com.

Kotler, P. (1997). Marketing management: analysis, planning implementation and control.

(9th ed). New Jersey: Asimmon &Schuster.

Kotler, Philip and Keller, Kevin Lane. (2012). Marketing Management 12th Edition,Edinburgh

Gate: Pearson Education Limited.

Kurnia, G., & Sulistiani, P. B. (2019). Influencing Consumer’s Behavior: Perspective of Information Quality and Consumers Reviews on Airyrooms. PEOPLE: International Journal of Social Sciences, 5(1).

Middleton, C.T.C, A. Fyall, M. Morgan and A. Ranchhod. (2009.) Markeitng in Travel and Tourism. Forth

edition. Elsevier, USA.

Narumol Limlahapun, Kanyamon Kanchanathaveekul (2019). Development of Innovation Management Strategies and Success of Thai Desert Business in Central Region of Thailand. VOL 6, NO 1 (2019) ABAC ODI JOURNAL VISION. ACTION.OUTCOME P.179-191: January 2019-May 2019

Noppadol Tiamnara and Kanyamon Inwang. (2018). Success of Clothing Retailers through Online Channel Using Digital Marketing, International Journal of the Computer, the Internet and Management Volume 26 No.2 (May-August 2018).

Osterwalder, A. and Pigneur, Y. (2010). “Business Model Generation: A Handbook for Visionaries,

Game Changers, and Challengers”. Hoboken, NJ: Wiley.

McCarthy, E.J. and Perrault, W.D. (2002) Basic Marketing: A Global Managerial Approach. McGraw-Hill, New York, 350 p.

Poramet Saengon, Kanyamon Kanchanathaveekul, Premkamon Jankaweekool, Kittipong Potimu. (2020). Considering

the factors and rand efficiency implications of client engagement with brands in social media environment. International Journal of Psychosocial Rehabilitation ISSN: 1475-7192.Volume 24 - Issue 7. March 2020. Pages: 1451-1468

Proyrungroj, R. (2015). The attitudes of Thai hosts towards western volunteer tourists. European Journal

of Tourism Research, 11, 102-124.

Sumalee Ramanust, Sakrapee Worawattanaparin, Kanyamon Kanchanathaveekul, Chairit Thonggrawd, (2020), Influence

of Green Marketing Practices on Intention to Purchase Green Products with Moderating Role of Emotions among Thai Retaurants. International Journal of Innovation, Creativity and Change, Issue of February 2020. P.169-189.

Wanichyada Wajirum, Kanyanmon Inwang. (2018), Development of Business of Strategies of Community Enterprise Entrepreneurs: A Case Study on Herbal Product Business in Lower Central Region1, ABAC ODI Journal Vision, 5(1), 117-120.

Zichen Wang, Kanyamon Kanchanathaveekul, Tanapol Kortana (2021), Thailand Consumer’s Response to Social Media Marketing of Chinese Consumer Electronics Products, Business Tobacco Regulatory Science, 3 November 2021.