การออกแบบผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากสภาวะการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อม
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจะนำเสนอ แนวคิด การออกแบบผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์จากการเปลี่ยนแปลงของสิ่งแวดล้อมในปัจจุบัน ทั้งการใช้ทรัพยากรอย่างไม่รู้คุณค่า และการระบาดของโรค ไวรัสโคโรนา 2019 ซึ่งส่งผลต่อการดำเนินชีวิต ซึ่งเราจะต้องเรียนรู้ในการปรับตัว ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการบริโภค และตระหนักถึงการใช้ทรัพยากรธรรมชาติให้เกิดประโยชน์สูงสุด โดยเนื้อหาที่นำเสนอนั้นจะประกอบไปด้วย 1. แนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน 2. แนวคิดวัสดุชีวภาพและ 3. แนวคิดภูมิปัญญาท้องถิ่น
จากการศึกษาพบว่าทั้ง 3 แนวคิดนี้ มีส่วนสำคัญที่จะเป็นแนวโน้มในการออกแบบ และพัฒนาผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ในอนาคตได้ ภายใต้แนวคิดเศรษฐกิจสีเขียว ของ BCG โมเดล โดยได้ยกตัวอย่างกรณีศึกษา ต้นแบบที่ดีของการออกแบบผลิตภัณฑ์ในประเทศไทย โดยทั้ง 3 แนวคิดนี้ มีพื้นฐานจากการเกื้อกูลซึ่งกันและกัน และการอยู่ร่วมกันระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ซึ่งสามารถนำทั้ง 3 แนวคิด มาบูรณาการแบบสหวิทยาการ ผสมผสานศาสตร์และองค์ความรู้ใหม่ เพื่อให้เกิดความยั่งยืน เน้นความร่วมมือระหว่าง นักออกแบบ ชุมชน รวมถึงภาคส่วนต่าง ๆ ในการคิดค้นนวัตกรรม เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบผลิตภัณฑ์ในอนาคตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม จากสภาวะการเปลี่ยนแปลงทางธรรมชาติได้
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
** ข้อความ ข้อคิดเห็น หรือข้อค้นพบ ในวารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสารเป็นของผู้เขียน ซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความและงานวิจัยนั้น ๆ โดยมิใช่ความรับผิดชอบของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี **
References
กรมควบคุมมลพิษ. (2564, 7 สิงหาคม). สถานการณ์คุณภาพสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย ปี 2563.https://www.pcd.go.th/pcd_news/11873/
กรมวิชาการ. (2538). สรุปผลการประชุมสัมมนา เรื่อง ภูมิปัญญาท้องถิ่นกับหลักสูตรที่พึงประสงค์. กระทรวงศึกษาธิการ
กรมอนามัย. (2563, 23 ธันวาคม). โควิด 19เพิ่มขยะพลาสติก. https://gnews.apps.go.th/news?news=73747
จันทิมา อุทะกะ. (2551). กลับสู่ธรรมชาติ เพื่ออนาคตที่ยั่งยืน. วารสารเทคโนโลยีวัสดุ, 13(53), 43-47.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2563, 16 ธันวาคม). BCG Economy Model คืออะไร.https://www.nstda.or.th/home/knowledge_post/what-is-bcg-economy-model/
สำนักงานส่งเสริมเศรษฐกิจสร้างสรรค์. (2563, 31 พฤศจิกายน). เจาะเทรนด์โลก 2021.
https://article.tcdc.or.th//uploads/file/ebook/2564/06/desktop_th/EbookFile_27494_1624001264.pdf
สํานักงานเศรษฐกิจอุตสาหกรรม. (2563, 30 พฤศจิกายน). แนวทางการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย ตามแนวคิดเศรษฐกิจหมุนเวียน Circular Economy.
http://www.oie.go.th/assets/portals/1/files/study_report/DevelopThaiIndustries_CircularEconomy.pdf
สุชาดา น้ำใจดี. (2561). คุณลักษณะสื่อบุคคลที่ควรรู้ในการถ่ายทอดภูมิปัญญาท้องถิ่น. วารสารชุมชนวิจัย, 12(3),1-13
สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2563, 2 ธันวาคม). ขยับปรับเปลี่ยนโลก. โลกเปลี่ยนคนปรับ,
https://drive.google.com/file/d/1AmaGwWGnLV6aS2AM7RCRX5bixKANLQN4/view
เศรษฐกิจสร้างสรรค์. (2562). ทัศนคติและแนวโน้มของงานฝีมือและหัตถกรรมของไทยในอนาคต. CEA OUTLOOK, 1(1), 56-59.
องค์กรธุรกิจเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืน. (2562, 2 ธันวาคม). TBCSD Sustainsble Development.
http://www.tei.or.th/file/library/2019-TBCSD-SD_28.pdf
Earth Overshoot Day, (2564, 7 สิงหาคม) How many Earths? How many countries.
https://www.overshootday.org/how-many-earths-or-countries-do-we-need/
Elephant Poopoopaper Park, (2563, 3 ธันวาคม). Elephant Poopoopaper Park.
http://www.poopoopaperpark.com/th/content/11/about-the-park
Parppim Pim. (2562, 14 ธันวาคม). Precious Plastic คอมมูนิตี้ของคนเห็นค่าพลาสติก.
https://www.greenery.org/articles/wastesidestory-precious-plastic/
Parppim Pim. (2563, 7 พฤศจิกายน). วงจรกระดาษ จากขยะสู่ประโยชน์.
https://www.greenery.org/articles/wastesidestory-paper-recycle/
Thailand Rural Tourism Award. (2563, 3 ธันวาคม). ชุมชนท่องเที่ยวบ้านหนองส่าน.
https://www.trtaward.com/best-agro-tourism/nong-san-sakon-nakorn/
Thailand tourism directory. (2564, 6 พฤศจิกายน). เอเลฟเฟ่น พูพูเปเปอร์ พาร์ค.
https://thailandtourismdirectory.go.th/th/attraction/22199
VT THAI GROUP. (2563, 25 พฤศจิกายน). Social Impact. https://th.vtthai.com/pages/social-impact
Wasoo. (2563, 25 พฤศจิกายน). Eco Decorative Wall Panels 100% Bio. https://www.wasoo.co/about-wasoo