ภาวะผู้นำกับประสิทธิผลของวิสาหกิจชุมชนในประเทศไทย
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาภาวะผู้นำที่เอื้ออำนวยวิสาหกิจชุมชนให้เกิดประสิทธิผล และเพื่อเปรียบเทียบความแตกต่างของภาวะผู้นำระหว่างวิสาหกิจชุมชนที่มีประสิทธิผลสูงกับวิสาหกิจชุมชนที่มีประสิทธิผลต่ำ โดยใช้วิธีวิจัยเชิงคุณภาพแบบกรณีศึกษา จากวิสาหกิจชุมชน 3 แห่ง ได้แก่ (1) วิสาหกิจชุมชนกลุ่มแม่บ้านชุมชนพัฒนาบ่อนไก่ จังหวัดกรุงเทพมหานคร (2) วิสาหกิจชุมชนรังไหมประดิษฐ์ จังหวัดสระบุรี และ (3) วิสาหกิจชุมชนข้าวเกรียบผักหวาน จังหวัดสระบุรี ด้วยการศึกษาเอกสาร การสัมภาษณ์เชิงลึกแบบกึ่งโครงสร้าง และเลือกผู้ให้ข้อมูลสําคัญแบบเจาะจง จำนวน 41 คน ได้แก่ ผู้นําวิสาหกิจชุมชน คณะกรรมการกลุ่ม สมาชิก เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้ใหญ่บ้าน และลูกค้า ประกอบด้วย ผู้นําวิสาหกิจชุมชน คณะกรรมการกลุ่ม สมาชิก เจ้าหน้าที่ภาครัฐ ผู้ใหญ่บ้าน และลูกค้าของแต่ละวิสาหกิจชุมชน ผลการศึกษาพบว่า ภาวะผู้นำที่เอื้ออำนวยวิสาหกิจชุมชนให้เกิดประสิทธิผลมีทั้งหมด 5 รูปแบบ ได้แก่ (1) ภาวะผู้นำแบ่งปัน (2) ภาวะผู้นำแบบรับใช้ (3) ภาวะผู้นำแบบแลกเปลี่ยน (4) ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง และ (5) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม และเมื่อเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างวิสาหกิจชุมชนที่มีประสิทธิผลสูงและวิสาหกิจชุมชนที่มีประสิทธิผลต่ำพบว่า มีภาวะผู้นำในการจัดการแตกต่างกัน ได้แก่ (1) การมีรูปแบบภาวะผู้นำที่ต่างกัน (2) การมีคุณลักษณะอื่น ๆของวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ ลักษณะการทำงานของผู้นำ อายุของสมาชิก จำนวนสมาชิก และแหล่งที่ตั้งของวิสาหกิจชุมชน และ (3) การมีเงื่อนไขต่าง ๆของวิสาหกิจชุมชน ได้แก่ การมีส่วนร่วมของสมาชิก การตลาด การสนับสนุนของภาครัฐ และการสร้างเครือข่าย
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
** ข้อความ ข้อคิดเห็น หรือข้อค้นพบ ในวารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสารเป็นของผู้เขียน ซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความและงานวิจัยนั้น ๆ โดยมิใช่ความรับผิดชอบของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี **
References
จตุพร จุ้ยใจงาม. (2557). รูปแบบการจัดการความรู้ของผู้ประกอบการทางสังคมในประเทศไทย [วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จินตนา กาญจนวิสุทธิ์. (2558). เส้นทางวิสาหกิจชุมชนเพื่อการพัฒนาอาชีพและการพึ่งตนเอง. มีนเซอร์วิส ซัพพลาย.
ฉัฐสิณี หาญกิตติชัย. (2559). ภาวะผู้นำประสิทธิผลของวิสาหกิจชุมชนและตัวแบบการพัฒนาภาวะผู้นำด้านการประกอบการ. รายงานประชุมสืบเนื่องการประชุมวิชาการ ครั้งที่ 4, มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
ชนพงษ์ อาภรณ์พิศาล. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการบริหารจัดการวิสาหกิจชุมชนในภาคกลางของประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต,วิทยาลัยมหาวิทยาลัยสยาม.
ชิตวันพัทณ์ วีระสัย และ ทิพย์รัตน์ เลาหวิเชียร. (2562). อิทธิพลของภาวะผู้นำต่อผลการดำเนินงานด้านบริการผ่านนวัตกรรม
การจัดการ. วารสารบริหารธุรกิจเทคโนโลยีมหานคร, 16(1), 1-26.
ฐากูร อนุสรณ์พาณิชกุล, ภิญญาพัชญ์ นาคภิบาล, และ วงศ์ธีรา สุวรรณิน. (2561). รูปแบบวิสาหกิจชุมชนที่ประสบความสำเร็จ
ในประเทศไทย. วารสารราชภัฏเพชรบูรณ์สาร, 20(1), 9-18.
ดุษฎี นาคเรือง, สุธิดา วัฒนยืนยง, และ นุชนภา เลขาวิจิตร. (2560). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อผลการดำเนินงานของวิสาหกิจชุมชน
จังหวัดยะลา. วารสารศรีนครินทรวิโรฒวิจัยและพัฒนา (สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์), 9(17), 69-77.
นพดล เหลืองภิรมย์. (2550). การจัดการนวัตกรรม: การพัฒนาตัวแบบความสามารถในการสร้างสรรค์นวัตกรรมของนักวิจัย. ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต, มหาวิทยาลัยรามคําแหง.
นิภาภรณ์ จงวุฒิเวศย์, รังสรรค์ สิงหเลิศ, และ สมสงวน ปัสสาโก. (2553). ปัจจัยที่ส่งผลต่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจชุมชนในเขตอำเภอเมือง จังหวัดร้อยเอ็ด. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม, 4(2), 103-111.
พิเชษฐ อุดมสมัคร และเขมรินทร์ ชูประดิษฐ์. (2564). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการบริหารคุณภาพทั่วทั้งองค์การของธุรกิจอุตสาหกรรมอาหารในจังหวัดสมุทรปราการ. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 4(3), 1-13.
พิทยา บวรวัฒนา. (2552). ทฤษฎีองค์กรสาธารณะ. ศักดิ์โสภา.
พิทยา บวรวัฒนา. (2556). ทฤษฎีองค์การสาธารณะ (พิมพ์ครั้งที่ 16). คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม. (2562). สรุปสาระสำคัญแผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์แห่งชาติ (พ.ศ. 2561-2580). https://op .chandra.ac .th/plan/images/pdf/Master%20plan%20summary%20under%20the%20national%20 strategy.pdf
ศิริพร สรณาคมน์ และชำนาญ ทองเย็น. (2564). ปัญหาและแนวทางพัฒนาการบริหารงานพัสดุของสำนักงานเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. วารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสาร, 4(3), 25-33.
สุรมน ไทยเกษม. (2558). การพัฒนาแบบวัดภาวะผู้นำแบบผู้รับใช้ของผู้ประกอบการในวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม ในจังหวัดฉะเชิงเทรา. วารสารสมาคมนักวิจัย, 20(2), 59-69.
สุวิทย์ เมษินทรีย์. (2559). ประเทศไทย 4.0. http://planning2.mju.ac.th/goverment/20111119104835_planning/Doc _25590823143652_358135.pdf
เสรี พงศ์พิศ. (2552). คู่มือการทำวิสาหกิจชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์พลังปัญญา.
Banbury, M. C., & Mitchell, W. (2010). The effect of Introducing Important Incremental Innovations on Market Share and Business Survival. http://www3.interscience.wiley.com/journal/114124266/abstract> January2021
Bass, B. M. (2008). The bass handbook of leadership: Theory, research, & managerial applications (4th ed.).
The Free Press.
Bennis, W., & Nanus, B. (1985). Leaders: The strategies for taking change. Harper & Row.
Bodla, M. A., & Nawaz, M. M. (2010). Transformational leadership style and its relationship with satisfaction. Interdisciplinary Journal of Contemporary Research in Business, 2(1), 370-381.
Caplow, T. (1964). Principles of organization. Harcourt, Brace and World.
Daryania, S. M., & Amini, A. (2016). Management and organizational complexity. Social and Behavioral Sciences, 230(1), 356-366.
Dierendonck, V. D. (2011). Servant leadership: A review and syntheses. Journal of Management, 37(4), 1228-1261.
Etzioni, A. (1964). Modern organizations. Prentice Hall.
Goldsmith, M., Greenberg, C. L., Robertson, A., & Hu-Chan, M. (2003). Global leadership: The next generation. Financial Times Prentice Hall.
Hussain S. T., Jaffar, A. Lei, Shen, Jamal, H. M., & Tayyaba, A. (2017). Transactional Leadership and Organizational Creativity: Examining the Mediating Role of Knowledge Sharing Behavior. Cogent Business & Management, 4(1), 1-11.
Inwang, K., Inwang, S., & Wannapira, A. (2011). Community enterprise management. Phitsanulok University Press.
Khadijah, M. R., Mohammad, N. M., & Suhana, M. A. (2017). The impact of internal factors on small business success: A case of small enterprises under the FELDA scheme. Asian Academy of Management Journal, 22(1), 27-55.
Kempster, S., & Cope, J. (2010). Learning to lead in the entrepreneurial context. International Journal of Entrepreneurial Behaviour & Research, 16(1), 5-34.
Kouzes, J. M., & Posner, B. (1997). The leadership challenge. Jossey-Bass.
Mohsen, A., & Mohammad, R.D., (2011). Considering Transformational Leadership Model in Branches of Tehran Social Security Organization. Social and Behavioral Sciences, 15, 3131-3137.
Obiwuru, T. C., Okwu, A. T., Akpa, V. O., Nwankwere, O., & Idowu, A. (2011). Effects of leadership style on organizational performance: A survey of selected small scale enterprise in Ikosi-Ketucouncil development area of Lagos State, Nigeria. Australian Journal of Business and Management Research, 1(7), 100-111.
Oldham, G. R., & Cummings, A. (1996). Employee Creativity: Personal and Contextual Factors at Work. Academy of Management Journal, 39(1), 607–634.
Pearce, C. L., & Conger, J. A. (2003). Shared leadership: Reframing the hows and whys of leadership. SAGE.
Perren, L., & Grant, P. (2001). Management and leadership in UK SMEs: Witness testimonies from the work of entrepreneurs and SMEs managers. Council for Excellence in Management Leadership.
Robbins, S. P. (2005). Organizational behavior (7th ed.). Prentice Hall.
Rothwell, R. (1992). Successful industrial innovation: Critical factors for the 1990s. Research and Development Management, 22(3), 221-239.
Somswasdi, C., Thongsukhowong, A., & Nakapaksin, S. (2015). The guidelines for management of community enterprises: A case study of Don Chang Sub-district, Khon Kaen Province, Thailand. Asian Social Science Journal, 11(5), 91-96.
Stogdill, R. M. (2004). Handbook of leadership: A survey of theory and research. The Free Press.
Tajeddini, K. (2011). The effects of innovativeness on effectiveness and efficiency. Education Business and society: Contemporary Middle Eastern, 4(1), 6-18.
Uhl-Bien, M., Marion, R., & McKelvey, B. (2007). Complexity leadership theory: Shifting leadership from the industrial age to the knowledge era. The Leadership Quarterly, 18(4), 298-318.
Vigoda-Gadot, E. (2007). Leadership style, organizational politics, and employees’ performance: An empirical examination of two competing models. Personnel Review, 36(5), 661-683.
Vitale, E., & Karkoulian, S. (2010). The impact of leadership styles on export behavior of the firm: An empirical investigation [Unpublished doctoral dissertation]. Lebanese American University.
Wood, M. (2005). Determinants of shared leadership in management teams. International Journal of Leadership Studies, 1(1), 64-85.
Yukl, G. A. (2010). Leadership in organizations (7th ed). Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.