การดำเนินงานพัฒนาชุมชนในชุมชนอำเภอเขาชะเมาจังหวัดระยอง
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาระดับความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานพัฒนาชุมชนในชุมชนอำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง และ เพื่อเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานพัฒนาชุมชนในชุมชนอำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล กลุ่มตัวอย่างที่ใช้คือ ประชาชนที่เป็นตัวแทนครัวเรือนอาศัยอยู่ในพื้นที่อำเภอเขาชะเมา จํานวน 375 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลคือแบบสอบถาม และสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ความถี่ ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าเฉลี่ย ในการทดสอบสมมติฐานใช้สถิติ Independent Sample t-test ในกรณีที่ตัวแปรไม่เกิน 2 กลุ่มและใช้สถิติ One - way ANOVA สำหรับเปรียบเทียบความแตกต่างระหว่างตัวแปรอิสระที่มีตั้งแต่ 3 กลุ่ม ขึ้นไป เมื่อพบว่ามีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ทำการทดสอบหาความแตกต่างรายคู่ โดยใช้วิธีของ LSD ผลการวิจัยพบว่า 1. ประชาชนในพื้นที่อำเภอเขาชะเมา ส่วนใหญ่มีระดับความคิดเห็นของประชาชนเกี่ยวกับการดำเนินงานพัฒนาชุมชน อยู่ในระดับปานกลาง 2. ผลเปรียบเทียบความคิดเห็นของประชาชนต่อการดำเนินงานพัฒนาชุมชนในชุมชนอำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง จำแนกตามปัจจัยส่วนบุคคล พบว่า เพศ และระดับการศึกษาต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินงานพัฒนาชุมชนไม่แตกต่างกัน ส่วนประชาชนที่มีอายุ และอาชีพต่างกัน มีความคิดเห็นต่อการดำเนินงานพัฒนาชุมชนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
** ข้อความ ข้อคิดเห็น หรือข้อค้นพบ ในวารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสารเป็นของผู้เขียน ซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความและงานวิจัยนั้น ๆ โดยมิใช่ความรับผิดชอบของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี **
References
จักรกฤษณ์ นรนิติผดุงการ และพงษ์เสฐียร เหลืองอลงกต. (2559). การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยันการบริหารงานตามหลักธรรมาภิบาลขององค์การบริหารส่วน ตำบลนายายอาม อำเภอนายายอาม จังหวัดจันทบุรี. วารสารด้านการบริหารรัฐกิจและการเมือง, 5(1), 126-159.
ชัยยุทธ ปัทมาพรพรรณ. (2551). ความต้องการของประชาชนในการมีส่วนร่วมพัฒนาท้องถิ่นให้เป็นเมืองน่าอยู่: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลธาตุทอง อำเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรี.ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารงานท้องถิ่น, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา
ทัศนา พฤติการณ์กิจ. (2558). บริบทชุมชนภายใต้สังคมกึ่งเมืองกึ่งชนบท. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 2558 (1), น.7-15.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2550). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS. พิมพ์ครั่งที่ 7. กรุงเทพฯ: วี. อินเตอร์พริ้นท์.
นิภาพร รัตนปริยานุช. (2556). ความต้องการในการพัฒนาชุมชนของประชาชนในเขตเทศบาลตำบลเสม็ด อำเภอเมืองชลบุรี.ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการบริหารทั่วไป, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา
นิรันดร์ จงวุฒิเวศย์. (2550). แนวคิดแนวทางการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพฯ: รําไทยเพรส
บรรเจิด สอพิมาย. (2550). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษาองค์การ บริหารส่วนตําบลในเมือง อําเภอพิมาย จังหวัดนครราชสีมา. วิทยานิพนธ์
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการปกครองท้องถิ่น, วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลยขอนแก่น.
ปิยะ ประทีปรักมณี. (2546). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนในพื้นที่ชายทะเลบางขุนเทียน กรุงเทพมหานคร.ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสังคมวิทยาประยุกต์ภาควิชาสังคม และมานุษยวิทยา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปิยะศักดิ์ อภิเดชรัตน์. (2550). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาเทศบาลตําบลบ่อทอง อําเภอบ่อทอง จังหวัดชลบุรีให้เป็นเมืองน่าอยู่. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาวิชานโยบายสาธารณะ, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, มหาวิทยาลัยบูรพา.
ปรีดา เจษฎาวรางกุล. (2550). การมีส่วนร่วมของกรรมการชุมชนในการพัฒนาชุมชนในเขต เทศบาลเมืองคูคตอําเภอลําลูกกา จังหวดปทุมธานี. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต ,สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น, วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
พรทิพย์ ทับแว่ว. (2554). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น: กรณีศึกษาเทศบาลตำบลบ้านเกาะ อำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, สาขานโยบายสาธารณะ,มหาวิทยาลัยนเรศวร
ไพฑูรย์ โพธิสว่าง. (2556). การทำวิจัยทางสังคมศาสตร์: หลักการ วิธีปฏิบัติ สถิติ และคอมพิวเตอร์.กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์ Come, In.
ไพรัตน์ เตชะรินทร์. (2524). การบริหารงานพัฒนาชนบท. กรุงเทพ ฯ; ไทยวัฒนาพานิช.
ภารดร บุตรบุญ. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการบริหารงานหมู่บ้าน ศึกษาเฉพาะกรณี กิ่งอําเภอเวียงหนองล่อง จังหวัดลําพูน. ปัญหาพิเศษรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย ,วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ ,มหาวิทยาลัยบูรพา
รัฐพงศ์ บุญญานุวัตร. (2552). การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของประชาชนเขตดุสิต กรุงเทพมหานคร. รายงานวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
วชิราวรรณ นิลเกตุ. (2553). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาท้องถิ่น กรณีศึกษาองค์การบริหารส่วนตำบลบ้านเดื่อ อำเภอเมืองหนองคาย จังหวัดหนองคาย. รายงานการศึกษาอิสระรัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการปกครองท้องถิ่น. วิทยาลัยการปกครองท้องถิ่น. มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วลัยลักษณ์ หนูพันธ์. (2559). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาหมูบ้าน ตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง บ้านตกปก-ตาลึง หมูที่ 6 ตําบลวังสรรพรส อําเภอขลุง จังหวัดจันทบุรี.รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชานโยบายสาธารณะ. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ. มหาวิทยาลัยบูรพา.
วันชัย พละไกร. (2550). ปัจจัยที่ก่อให้เกิดความสําเร็จของหมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาบ้านตําแย ตําบลม่วงสามสิบ อําเภอม่วงสามสิบ จังหวัดอุบลราชธานี. วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาสังคมศาสตร์เพื่อการพัฒนา. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี.
วิทยา จันทร์แดง และ จำนงค์ อดิวัฒนสิทธิ์. (2555). การพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการชุมชนเข้มแข็งตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ในเขต จังหวัดภาคกลางตอนบน. วิทยาลัยนวัตกรรมการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ในพระบรมราชูปถัมภ์. กรุงเทพฯ.
วิษณุ หยกจินดา. (2557). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชน หมู่บ้านทุ่งกร่าง ตำบลทับไทร อำเภอโป่งน้าร้อน จังหวัดจันทบุรี .รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการจัดการภาครัฐและภาคเอกชน. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ. มหาวิทยาลัยบูรพา.
สมชาย ศรีวิรัตน์. สมรรถนะ. สำนักงานข้าราชการ พลเรือน: กรุงเทพ, 2556.
สนธยา พลศรี. กระบวนการพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โอเดียนสโตร์, 2545.
สนธยา พลศรี. ทฤษฎีและหลักการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร : โอเดียนสโตร์, 2547.
สัญญา สัญญาวิวัฒน์. การพัฒนาชุมชน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : ไทยวัฒนาพานิช,
2525.
สัมพันธ์ จันทร์รักษ์. (2546). ศึกษาการดำเนินงานพัฒนาชุมชนขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตอำเภอมะขาม จังหวัดจันทบุรี.วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต. สาขาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยบูรพา
เสริมพงษ์ อยู่โต. (2551). การมีส่วนร่วมในการพัฒนาชุมชนของประชาชนเขตบางคอแหลม กรุงเทพมหานคร. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารทัวไป. บัณฑิตวิทยาลัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ.2560 - 2564). กรุงเทพฯ: 2560.
สำนักงานพัฒนาชุมชนอำภอเขาชะเมา. (2562). ข้อมูลความจำเป็นพื้นฐาน. เข้าถึงได้จาก
http://ebmn.cdd.go.th/#/login
สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย. (2563). จำนวนประชากรของอำเภอเขาชะเมา จังหวัดระยอง ปี 2563.
เสาวลักษณ์ ทองเทพ. (2551). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนตามหลักปรัชญา เศรษฐกิจพอเพียง: กรณีศึกษาบ้านลําเรือแตก อําเภอบางปะอิน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. ศิลปศาสตรบัณฑิต. สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์สหกรณ์. คณะเศษฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
โสภิดา ศรีนุ่น. (2558). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการจัดทำแผนพัฒนาเทศบาลเมืองเบตง อำเภอเบตง จังหวัดยะลา. รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาการจัดการวิชาภาครัฐและภาคเอกชน. มหาวิทยาลัยหาดใหญ่.
อมรรัตน์ ชัยขรรค์เมือง. (2547). การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาชุมชนย่อย ภายในเขตเทศบาล: ศึกษากรณีเทศบาลตําบลแหลมฉบับ จังหวัดชลบุรี. ปัญหาพิเศษ
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. สาขาวิชาการบริหารทัวไป. บัณฑิตวิทยาลัย. วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ. มหาวิทยาลัยบูรพา.