บทบาทของอินสตาแกรมในการสื่อสารสุขภาพกับกลุ่มโรค NCD

Main Article Content

เยาวนารถ พันธุ์เพ็ง

บทคัดย่อ

บทบาทของอินสตาแกรมในการสื่อสารสุขภาพกับกลุ่มโรค NCD เป็นการใช้คุณสมบัติของอินสตาแกรม ได้แก่ การใช้ภาพถ่าย และตกแต่งภาพด้วยฟิลเตอร์ (Filters)  การเผยแพร่ เชื่อมโยง ไปในสังคมออนไลน์อื่น   เช่น    ทวิสเตอร์ (Twitter) เฟสบุ๊ก  (Facebook) เป็นต้น โดยค้นหาข้อมูล เนื้อหาที่สนใจได้ด้วยชื่อผู้ใช้ คำสำคัญ และการจัดกลุ่มความสนใจโดยใช้สัญลักษณ์แฮ็ชแทค (Hastag :#) ใช้คำสำคัญ  อินสตาแกรมเป็นเครื่องมือหนึ่งในการสื่อสารเนื้อหา ข้อมูล เรื่องการดูแลสุขภาพ ที่ช่วยสื่อสารการป้องกันการเกิดโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง  (Non-communicable diseases :NCD)  จากผู้ส่งสารและผู้รับสาร โดยร่วมกันสร้างข้อมูลความรู้ ทักษะ และทัศนคติ และส่งไปยังผู้รับสารที่เป็นคนในกลุ่มบุคคลสนใจการดูแลสุขภาพ ทั้งนี้เพื่อสื่อสารสุขภาพบนชุมชนออนไลน์ และส่งเสริมให้คนปรับเปลี่ยนทัศนคติมาดูแลสุขภาพมากขึ้น

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กมลรัฐ อินทรทัศน์. (2557). ทฤษฎีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ. นนทบุรี:
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช
กลุ่มยุทธศาสตร์และแผนงานสำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค. (2559). รายงานประจำปี 2559.
กรุงเทพฯ: สำนักงานกิจการโรงพิมพ์ องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรม
ราชูปถัมภ์.
กระทรวงสาธารณสุข. (2559). แผนพัฒนาสุขภาพแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ปี 2560-2564). สืบค้น 10
พฤศจิกายน 2561, จาก http://wops.moph.go.th/ops/oic/data/20180914162453_1_.pdf
กาญจนา แก้วเทพ. (2555). คู่มือสื่อใหม่ศึกษา. กรุงเทพฯ: โครงการเมธีวิจัยอาวุโส ฝ่ายวิชาการ
สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
กาญจนา แก้วเทพ และขนิษฐา นิลผึ้ง. (2556). สื่อสาร อาหาร สุขภาพ. กรุงเทพฯ: โครงการเมธี
วิจัยอาวุโส ฝ่ายวิชาการ สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.
จักรี ปัถพี และนวลฉวี ประเสริฐสุข. (2559). พฤติกรรมการส่งเสริมสุขภาพประชาชนของอาสาสมัคร
สาธารณสุขประจำหมู่บ้าน อำเภอบ่อพลอย จังหวัดกาญจนบุรี. วารสารสาขามนุษยศาสตร์
สังคมศาสตร์ และศิลปะ ปีที่ 9 ฉบับที่ 3 เดือนกันยายน – ธันวาคม 2559
มนันญา ภู่แก้ว. (2558). พระราชบัญญัติโรคติดต่อ. สืบค้น 30 ตุลาคม 2561, จาก
https://www.parliament.go.th/ewtadmin/ewt/elaw_parcy/ewt_dl_link.php?nid=1537
สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข(สวรส). (2561). เทคนิค” สร้างแรงจูงใจ เปลี่ยนพฤติกรรมสุขภาพดี
ไม่มีโรค NCD. สืบค้น 8 พฤศจิกายน 2561, จาก https://www.hsri.or.th/researcher/
media/news/detail/9909.

สำนักโรคไม่ติดต่อ กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข. (2560). แผนยุทธศาสตร์การป้องกัน
และควบคุมโรคไม่ติดต่อระดับชาติ 5 ปี (พ.ศ. 2560 - 2564). กรุงเทพฯ: โมชั่น อาร์ต.
อังฌุพร ตันติตระกูล และจิตราภรณ์ สุทธิวรเศรษฐ์. (2559). รูปแบบการสื่อสารของผู้บริโภค
อาหารเพื่อสุขภาพที่มีชื่อเสียง ทางอินสตาแกรม. ประชุมสัมมนาวิชาการระดับชาติ
ประจำปี 2559 (หน้า 87-101). กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์และนวัตกรรมการจัดการ
สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Kamel Boulos, M. N., Giustini, D. M., & Wheeler, S. (2016). Instagram and WhatsApp in health
and healthcare :an Overview. Future Internet, 8(3), pp. 37-50.
Polyakova, Alexandra, Valentini, Sara & Orsingher, Chiara. (2018). Customers’ emotions in
service failure and recovery: a meta-analysis. In: 47th EMAC 2018 Annual
Conference, May 29-June 1, University of Strathclyde, Glasgow, UK.
Pavica Sheldon Katherine Bryant. (2015). Instagram: Motives for its use and relationship to
narcissism and contextual age. Computers in Human Behavior, 58, May 2016, 89-97.