การวิเคราะห์การสร้างตัวละครตัวเอกที่มีพฤติกรรมแบบชายรักชายในภาพยนตร์เรื่อง Moonlight
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพด้านวรรณกรรมเชิงสังคมศาสตร์ มีวัตถุประสงค์
เพื่อศึกษาการสร้างตัวละครเอกซึ่งมีพฤติกรรมแบบชายรักชายในภาพยนตร์
เรื่อง Moonlight ซึ่งได้รับรางวัลออสการ์ในปี พ.ศ. 2560 ภาพยนตร์เรื่องนี้ใช้แนวคิด
การสร้างตัวละครด้านชีวิตเบื้องหน้า ได้แก่ ความต้องการ และการกระทำ และชีวิตเบื้องหลัง
ได้แก่ ประวัติส่วนตัว ผลการวิจัยพบว่า การสร้างตัวละครเอกที่มีพฤติกรรมแบบชายรักชาย
ในภาพยนตร์เรื่อง Moonlight สะท้อนให้เห็นถึงภาพรวมลักษณะของตัวละคร
ที่มีพฤติกรรมแบบชายรักชายทั้งเบื้องหน้าและเบื้องหลังอันก่อให้เกิดการกระทำต่าง ๆ
จนเกิดเป็นเรื่องราวภาพยนตร์ ตัวละครถูกสร้างให้มีพฤติกรรมแบบชายรักชายในสังคม
อเมริกันผิวดำว่าต้องหลีกเลี่ยงการแสดงตัวตนว่ามีพฤติกรรมแบบชายรักชาย
เพื่อความอยู่รอด และเป็นที่ยอมรับของคนในสังคม
Article Details
** ข้อความ ข้อคิดเห็น หรือข้อค้นพบ ในวารสารสหวิทยาการสังคมศาสตร์และการสื่อสารเป็นของผู้เขียน ซึ่งจะต้องรับผิดชอบต่อผลทางกฎหมายใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นจากบทความและงานวิจัยนั้น ๆ โดยมิใช่ความรับผิดชอบของคณะนิเทศศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี **
References
ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาการภาพยนตร์ บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
เถกิง พันธุ์เถกิงอมร. (2541). นวนิยายและเรื่องสั้น: การศึกษาเชิงวิเคราะห์และวิจารณ์. สงขลา:
คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สถาบันราชภัฏสงขลา.
ปุรินทร์ นาคสิงห์ และธาตรี ใต้ฟ้าพูล. (2556). “การประกอบสร้างตัวตนเกย์ในภาพยนตร์ไทย”.
ใน วารสารสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์, 39 (2). 35-53.
พิมพ์ทิพย์ นฤมิตญาน. (2546). มูลเหตุจูงใจในการกระท�ำ ผิดคดียาเสพติดของผู้ต้องขังหญิง
ศึกษาเฉพาะกรณีเรือนจ�ำ พิเศษมีนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต
คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
เพศสภาพและเพศวิถี. (31 สิงหาคม 2555). สืบค้นจาก https://storylog.co/
story/587517af3aba7962052fc5a b.
รักศานต์ วิวัฒน์สินอุดม. (2558). การเขียนบทภาพยนตร์บันเทิง. กรุงเทพฯ: คณะนิเทศศาสตร์
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ลักษมณ พีรประภากร. (2555). การศึกษารูปแบบและแก่นความคิดในภาพยนตร์ รางวัลออสการ์
สาขาภาพยนตร์ยอดเยี่ยม. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาสารนิเทศศาสตร์และสารสนเทศ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ศฐนรรฆ์ ขันติพันธุกุล. (2554). การวิเคราะห์ตัวละครเอกหญิงรักหญิงด้านเพศสภาวะ
ในนวนิยาย ชุด Yes or No อยากรักก็รักเลย. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
เสาวคนธ์ วงศ์ศุภชัยนิมิต. (2559). การศึกษาสถานภาพและบทบาทผู้หญิงในนวนิยาย
ของณารา. วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา.
สุรพงษ์ โสธนะเสถียร และพจนา ธูปแก้ว. (2549). การสื่อสารเพื่อการจัดการองค์กรเกย์
ในประเทศไทย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ประสิทธิ์ภัณฑ์แอนด์พรินติ้ง.
อรวรรณ วิชญวรรณกุล. (2554). ภาพสะท้อนชายรักชายในวรรณกรรมประเภทแฟนฟิคชั่น
ที่ปรากฏในเว็บไซต์ Dek-d.com. สารนิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
Little_pig. (2 พฤษภาคม 2560). ความทุกข์บนความหลากหลาย. สืบค้นจาก
https://storylog.co/story/587517 af3aba7962052fc5ab.
Nattaphan Songviroon. (2560). Moonlight: หนังเกย์น้ำดีที่อยากให้คุณลิ้มลอง (ชม).
ค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2561, จาก https:// www.beartai.com/lifestyle/
movies/149174.