กลยุทธ์การสื่อสารการตลาดและภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี ที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อของนักศึกษาระดับปริญญาตรี

Main Article Content

ณัฐธยาน์ ถวิลวงษ์

บทคัดย่อ

The objective of this thesis is to analyze the marketing communications
strategy and brand image of Rambhai Barni Rajabhat University and to explore the
influence of marketing communications strategy and brand image of Rambhai Barni
Rajabhat University that affects students’ decision to enroll in the Bachelor’s Degree
program.


The research conducts mixed methods combining qualitative and
quantitative methods. Qualitative method is utilized for analyzing the marketing
communications strategy and brand image of Rambhai Barni Rajabhat University by
collecting data from in-depth interviews and documentary research. Quantitative
method is applied for exploring the influence of marketing communications strategy
and brand image of Rambhai Barni Rajabhat University that affects students’
decision to enroll in the Bachelor’s Degree program. The data were collected from
400 registered students in 2018 from 10 faculties. The research shows that the most
influential element on students’ decision is the Internet followed by marketing
activity and educational sponsorship respectively. In terms of brand image of
Rambhai Barni Rajabhat University, the research shows that the most effective
components of the university brand image on students’ attachment is research
for community and academic services to community followed by the prototype
university to produce effective teachers and people through international level
and RBRU green university respectively. As a practical recommendation, it suggests
that Rambhai Barni Rajabhat University should impose a policy on marketing
communications strategy focusing on marketing communications strategy via the


Internet. In terms of brand image of Rambhai Barni Rajabhat University, a special
attention should be paid to the components, which were found to have a
significant effect, such as research for community and academic services to
community as the university determine students’ attachment and commitment
to Rambhai Barni Rajabhat University brand.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เกรียงศักดิ์ เจริญวงศ์ศักดิ์. (7 กันยายน 2561). มหาวิทยาลัยปรับตัวในยุคอัตราเกิดลดลง. สืบค้นจาก
www.kriengsak.com/node/874.
คอตเลอร์, เอฟ. (2546). การจัดการการตลาด = Marketing Management (ธนวรรณ แสงสุวรรณ
และคณะ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: เพียร์สัน เอ็ดดูเคชั่น อินโดไชน่า. (ต้นฉบับพิมพ์ปี 2003).
ชูลท์, ดี. อี., แทนเนนโบม, เอส. ไอ., และ เลาเทอร์บอร์น, อาร์. เอฟ. (2544). ไอเอ็มซีการสื่อสาร
การตลาดแนวใหม่ = The new marketing paradigm: Integrated marketing
communications (ชื่นจิตต์ แจ้งเจนกิจ, ผู้แปล). กรุงเทพฯ: สยามศิลป์ พริ้นท์ แอนด์ แพ็ค.
(ต้นฉบับพิมพ์ปี 2001).
ดลธร เพ็ชรณสังกุล. (2556). ปัจจัยการสื่อสารทางการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกศึกษาต่อ
สาขาวิชาการสื่อสารดิจิทัล มหาวิทยาลัยแม่โจ้ จังหวัดเชียงใหม่. (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยแม่โจ้, บัณฑิตวิทยาลัย, สาขาวิชานิเทศศาสตร์.
ตราจิตต์ เมืองคล้าย. (2556). ภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยบูรพาตามทัศนะของนักเรียน
ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 โรงเรียนสาธิตพิบูลบำ เพ็ญ มหาวิทยาลัยบูรพา. (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยบูรพา, วิทยาลัยการบริหารรัฐกิจ, สาขาวิชาการบริหารทั่วไป.
ฝ่ายทะเบียนและประมวลผล. (2561). จำ นวนนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏรำ ไพพรรณี
ประจำ ปีการศึกษา 2560-2561. จันทบุรี: มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี.
พรพรรณ สุขน้อย. (2556). เครื่องมือสื่อสารการตลาดเชิงบูรณาการ (IMC) ที่มีผลต่อการตัดสินใจ
เข้าศึกษาต่อในสาขาวิชาสื่อมวลชนศึกษา คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
คณะวารสารศาสตร์และสื่อสารมวลชน, สาขาวิชาการจัดการการสื่อสารองค์กร.
ภาวิณีย์ มาตแม้น. (2557). กลยุทธ์การตลาดเพื่อพัฒนาภาพลักษณ์ของวิทยาลัยอาชีวศึกษาเอกชน
ในประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). มหาวิทยาลัยสยาม, บัณฑิตวิทยาลัย,
สาขาวิชาการตลาด.
มนตรี สังข์ทอง และคณะ. (2557). ความสัมพันธ์ระหว่างการเปิดรับข่าวสารกับภาพลักษณ์
คณะวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ. วารสาร
สมาคมนักวิจัย, 19(2), 118.
เสรี วงษ์มณฑา. (2547). ครบเครื่องเรื่องการสื่อสารการตลาด. กรุงเทพฯ: ธรรมสาร.
แสงเดือน วนิชดำรงศักดิ์. (2555). การรับรู้ภาพลักษณ์และคุณภาพบริการ: กรณีศึกษาธนาคาร
เกียรตินาคิน สาขากรุงเทพมหานครและปริมณฑล. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต).
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, คณะบริหารธุรกิจ, สาขาวิชาการจัดการทั่วไป.
อภิชัจ พุกสวัสดิ์. (2555). การสำรวจภาพลักษณ์ของมหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ:
ศึกษากรณี 25 โรงเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย ในจังหวัดสมุทรปราการ. วารสาร
การประชาสัมพันธ์และการโฆษณา, 5(2), 6-7.
อินท์อร ไตรศักดิ์. (2557). การสื่อสารการตลาดแบบบูรณาการที่มีผลต่อการตัดสินใจเข้าศึกษาต่อ
ของนักศึกษาในสำ นักงานการอาชีวศึกษา จังหวัดนครราชสีมา. (วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, คณะบริหารธุรกิจ, สาขาวิชาการตลาด.
อานนท์ ศักดิ์วรวิชญ์. (25 พฤษภาคม 2559). มหาวิทยาลัยไทยจะอยู่รอดได้หรือไม่. สืบค้นจาก
manager.co.th/Daily/ViewNews.aspx?News.