วิวาทะการตื่นตูมทางด้านสิ่งแวดล้อม

Main Article Content

สุทธินันท์ โสตวิถี
จักรพันธ์ โพธิพัฒน์

บทคัดย่อ

บทความนี้นำเสนอวิวาทะการตื่นตูมทางด้านสิ่งแวดล้อมของข้อถกเถียงทางความคิด
อุดมการณ์และรายละเอียดข้อมูลระหว่างกลุ่มที่เรียกร้องปัญหาด้านสิ่งแวดล้อมผ่านเวทีสาธารณะ
ทั้งในระดับประเทศและระดับสากล ได้แก่ Rachel Carson, Paul Ehrlich และ Barry Commoner
ซึ่งได้รับแรงกระตุ้นจากแบบจำลองขอบเขตจำกัดความเจริญเติบโตของ Donella Meadows
และคณะ ในขณะที่ The Doomsday Syndrome แสดงทัศนะที่แตกต่างด้วยการวิพากษ์กระบวนการ
วิเคราะห์ข้อมูลและการชี้ให้เห็นถึงผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้นกับสังคมมนุษย์และสิ่งแวดล้อมในเชิงบวก
ผลจากการวิวาทะก่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และสร้างวาทกรรทการพัฒนาใหม่ที่ชื่อว่า
“การพัฒนาที่ยั่งยืน”

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จักรพันธ์ โพธิพัฒน์. (2559). การตื่นตูมทางสิ่งแวดล้อม. วารสารหอจันท์, 135(3), 11.
สมพร แสงชัย. (2545). สิ่งแวดล้อม อุดมการณ์ การเมือง และการพัฒนาที่ยั่งยืน. กรุงเทพฯ: โครงการ
บัณฑิตศึกษาการจัดการสิ่งแวดล้อม สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
Carson, R. (1962). Silent spring. Boston: Houghton Mifflin.
Commoner, B. (1971). The closing circle: Nature, man and technology. New York:
Alfred A. Knopf.
Ehrlich, P. R. (1968). The population bomb. New York: Ballantine Books.
Fukuyama, F. (1992). The end of history and the last man. London: Hamish Hamilton.
Jones, R. (2015). Remembering Rachel Carson. Retrieved from http://infinitefire.org/
info/remembering-rachel-carson/
Maddox, J. (1972). The doomsday syndrome. New York: McGraw-Hill.
McCormick, J. (1989). Reclaiming paradise. Indiana: Indiana University Press.
Meadows, D. H., Meadows, D. L., Randers, J., & Behrens, W. W. (1972). Limits to
growth-a report for the club of Rome’s project on the predicament of mankind,
Earth Island Limited. New York: Universe Books.