คุณลักษณะที่พึงประสงค์และแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะของครูดนตรี: กรณีศึกษาสถาบันดนตรีเคพีเอ็น จังหวัดสมุทรปราการ

ผู้แต่ง

  • พรรณพัชร กฤษณ์เพ็ชร์ -
  • สยา ทันตะเวช จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

DOI:

https://doi.org/10.14456/educu.2024.3

คำสำคัญ:

คุณลักษณะของครูดนตรี, การพัฒนาครูดนตรี, โรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความคิดเห็นของครูดนตรีเกี่ยวกับคุณลักษณะของครูดนตรีโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบที่พึงประสงค์และแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะของครูดนตรี กรณีศึกษาสถาบันดนตรีเคพีเอ็น จังหวัดสมุทรปราการ ผู้ให้ข้อมูลคือครูดนตรีที่สอนอยู่ในสถาบันดนตรีเคพีเอ็นในจังหวัดสมุทรปราการ 3 แห่ง ได้แก่ สถาบันดนตรีเคพีเอ็นแจส ศรีนครินทร์ สถาบันดนตรีเคพีเอ็นโรบินสัน สมุทรปราการ และสถาบันดนตรีเคพีเอ็นเมกาบางนา จำนวน 71 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบสอบถามความคิดเห็นซึ่งประกอบด้วยคำถามเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพ ผลการวิจัยแบ่งออกเป็น 2 ประเด็นหลัก คือ 1) คุณลักษณะที่พึงประสงค์มีทั้งหมด 3 ด้าน คือ ด้านความรู้และทักษะด้านดนตรี ด้านความรู้ความสามารถด้านการสอน และ ด้านบุคลิกภาพส่วนบุคคล โดยด้านคุณลักษณะด้านบุคลิกภาพ ได้แก่ การมีทัศนคติที่ดี มีความเป็นมิตร มีความสามารถในการปรับตัว มีความสำคัญมากที่สุด และ 2) แนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของครู ทำได้โดย
การจัดกิจกรรมหรือการอบรมแบบรายหัวข้อให้ครูเลือกเข้าร่วมได้ แหล่งข้อมูลหรือการอบรมในรูปแบบออนไลน์ การให้คำแนะนำรายบุคคล และการจัดกิจกรรมเพื่อให้ครู พนักงาน ผู้บริหารได้ทำความรู้จัก โดยประเด็นคุณลักษณะที่ต้องการให้มีการส่งเสริม คือ คุณลักษณะด้านการสอน ความรู้เรื่องจิตวิทยาการสอนดนตรี แนวทางการสอนและการใช้หลักสูตรที่เพื่อให้เป็นมาตรฐานภายในโรงเรียน

References

ภาษาไทย

กนกวรรณ ศุภสิริโรจน์. (2557). กลยุทธ์การบริหารสู่ความเป็นเลิศของโรงเรียนดนตรีเอกชนนอกระบบ. วารสารครุศาสตร์, 42(4), 1-14.

กิตติพร แซ่แต้.(2560). การศึกษาองค์ประกอบทางธุรกิจสู่ความสำเร็จในการประกอบธุรกิจโรงเรียนดนตรีในประเทศไทย. (สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเซนจอห์น).

ขนิษฐา รักธรรม & รุจิกาญจน์ สานนท์. (2020). การจัดการสภาพแวดล้อมทางธุรกิจและการสร้างความได้เปรียบทางการแข่งขันของโรงเรียนดนตรียามาฮ่าอำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารวิชาการสังคมศาสตร์ เครือข่ายวิจัยประชาชื่น, 2(2), 34-45

จิตติวิทย์ พิทักษ์, พงษ์พิทยา สัพโส & อิศรา ก้านจักร (2563). สภาพปัญหาเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนดนตรีของโรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยขอนแก่น. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 11(1), 225–237. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/199499

เจษฎา สุขสนิท (2561). การประเมินความต้องการจำเป็นแบบมีส่วนร่วมในการจัดการศึกษาดนตรีตามมาตรฐานการประกันคุณภาพภายในของโรงเรียนเอกชนนอกระบบ กรณีศึกษา โรงเรียนดนตรีพาเพลิน (สถาบันดนตรีเคพีเอ็น สาขาเซ็นทรัลศาลายา). วารสารครุศาสตร์, 46(1), 18-31.

ณรุทธ์ สุทธจิตต์. (2541). จิตวิทยาการสอนดนตรี. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ณัฐธิดา กิ่งเงิน และดนีญา อุทัยสุข. (2560). การรับรู้สภาพปัญหาความเครียดของครูดนตรีในปัจจุบัน. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ทางการศึกษา (OJED), 12(3), 491-503.

ธนินท์รัฐ วรพลวิรัตน์, ตรีทิพ บุญแย้ม & ภาวัต อุปถัมภ์เชื้อ (2565). เส้นทางและปัจจัยในการดำเนินธุรกิจของครูดนตรีอิสระ. Journal of Humanities and Social Sciences University of Phayao, 10(2), 273-291.

มานะ พิณจะโปะ (2558). การศึกษาสภาพปัญหาการสอนวิชาดนตรีของโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 31. วารสารศิลปกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 6(2), 139–157. Retrieved from https://so02.tci-thaijo.org/index.php/fakku/article/view/30075

อนันต์ เถื่อนเนาว์. (2561). บทบาทของครูกับการเรียนการสอนในศตวรรษ ที่ 21. ใน มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา, รายงานการประชุม การประชุมวิชาการเสนอผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 2 “Graduate School Conference 2018”. (น. 937- 943). บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

อัครวัตร เชื่อมกลาง, ทรงเดช แสงนิล และสกุณา พันธุระ. (2560). คุณลักษณะในความต้องการบุคลากรด้านดนตรีของผู้บริหารสถานศึกษาและผู้ประกอบการธุรกิจดนตรีในภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนกลาง Desired Characteristics of Music Personnel for Educational Administrators and Music Entrepreneurs in Central Northeastern Thailand. Chophayom Journal, 28(2), 169-176.

ภาษาอังกฤษ

Arat, M. (2014). Acquiring soft skills at university. Journal of educational and instructional studies in the world, 4(3), 46-51.

Biasutti, M., & Concina, E. (2018). The effective music teacher: the influence of personal, social, and cognitive dimensions on music teacher self-efficacy. Musicae Scientiae, 22(2), 264 - 279.

Carey, G., Coutts, L., Grant, C., Harrison, S., & Dwyer, R. (2018). Enhancing learning and teaching in the tertiary music studio through reflection and collaboration. Music Education Research, 20(4), 399-411.

Fernandes, P. R. D. S., Jardim, J., & Lopes, M. C. D. S. (2021). The Soft Skills of Special Education Teachers: Evidence from The Literature. Education Sciences, 11(3), 125.

Gupta, M. K., & Varsakiya, J. (2021). Professional web meetings and online seminars: Pros and Cons. International Journal of AYUSH Case Reports, 5(1), 47-48.

Kaschub, M., & Smith, J. (Eds.). (2014). Promising practices in 21st century music teacher education. Oxford University Press.

Kechagias, K. (2011). Teaching and Assessing Soft Skills. MASS Project. Retrieved from http://research.education.nmsu.edu/files/2014/01/396_MASS-wp4-final-report-part-1.pdf

Klaus, P. (2007). The hard truth about soft skills: Workplace lessons smart people wish they’d

learned sooner. New York, NY: HarperCollins.

Lopes, A., & Dewan, I. (2014). Precarious Pedagogies? The Impact of Casual and Zero-Hour Contracts in Higher Education. Journal of Feminist Scholarship, 7(8).

Marone, V., & Rodriguez, R. C. (2019). “What’s so awesome with YouTube”: Learning music with social media celebrities. Online Journal of Communication and Media Technologies, 9(4), e201928. https://doi.org/10.29333/ojcmt/5955

Mailool, J., Retnawati, H., Arifin, S., Kesuma, A. T., & Putranta, H. (2020). Lecturers’ experiences in teaching soft skills in teacher profession education program (TPEP) in Indonesia. Problems of Education in the 21st Century, 78(2), 215.

McClellan, E. (2017). A Social-Cognitive Theoretical Framework for Examining Music Teacher Identity. Action, Criticism & Theory for Music Education, 16(2).

McPhail, G. J. (2010). Crossing boundaries: Sharing concepts of music teaching from classroom to studio. Music Education Research, 12(1), 33-45.

Steele, N. A. (2010). Three characteristics of effective teachers. Update: Applications of Research in Music Education, 28(2), 71-78.

Upitis, R., Abrami, P. C., Brook, J., Boese, K., & King, M. (2017). Characteristics of independent music teachers. Music Education Research, 19(2), 169-194.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-03-31

How to Cite

กฤษณ์เพ็ชร์ พ., & ทันตะเวช ส. (2024). คุณลักษณะที่พึงประสงค์และแนวทางการส่งเสริมคุณลักษณะของครูดนตรี: กรณีศึกษาสถาบันดนตรีเคพีเอ็น จังหวัดสมุทรปราการ. วารสารครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 52(1), EDUCU5201003. https://doi.org/10.14456/educu.2024.3