ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษา สาขาวิชาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี

Main Article Content

tranuk somnate
sumrit prawittana
worapon surapat

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของการวิจัยนี้เพื่อ 1) ศึกษาพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาสาขาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี 2) ศึกษาปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาสาขาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี ตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยในครั้งนี้ ได้แก่ นักศึกษาสาขาจุลชีววิทยา คณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี จำนวน 66 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถามมีค่าความเชื่อมั่น เท่ากับ 0.825 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน  การวิเคราะห์สหสัมพันธ์เพียร์สันและการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ  


          ผลการวิจัย พบว่า 1) พฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาสาขาจุลชีววิทยาคณะวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานีโดยภาพรวมและรายด้านอยู่ในระดับมาก    2) ปัจจัยที่สัมพันธ์กับพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาได้แก่ ประสิทธิภาพแห่งตน การมุ่งอนาคตควบคุมตน และการได้รับแบบอย่างความรับผิดชอบ ตามลำดับ ซึ่งสามารถทำนายพฤติกรรมการเรียนรู้ด้วยตนเองของนักศึกษาได้ร้อยละ 66.2 และค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์พหุคูณเท่ากับ .813

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive

theory. New Jersey: Prentice-Hall.

Bhanthumanvin, D., and Prachonpachanuk, P. (1977). Morality of Thai Youth.

nd ed. Bangkok: Behavioral Science Research Institute Srinakharinwirot

University. (in Thai)

Brockett, R.G., and Hiemstra, R. (1991). Self-direction in adult learning:

perspectives on theory, and practice. London: Routledge.

Brookfield, S.D. (1984). Self-Directed Adult Learning: A Critical Paradigm.

Adult Education Quarterly. 35, 59-71.

Chomeya, R. (2018). Student’s Self-directed Learning Behavior in Mahasarakham University. Journal of Education Mahasarakham University. 12(3), 309-317. (in Thai)

Issarawat, S. (1995). Self-learning of Thai people. Nakhon Pathom: department of

education Mahidol University. (in Thai)

Knowles, M.S. (1975). Self-directed learning. New York: Association Press.

Maslow, A.H. (1970). Motivation and Personality. New York: Harpers and

Row.

McClusky, W.F. (1986). The self-directed and attitude toward mathematics of

younger and older undergraduate mathematics students. Dissertation Abstracts International, 46, 3279.

Merrian, S.B., and Caffarella, R.S. (1991). Learning in adulthood. San Francisco:

Jossey-Bass Publishers.

Piatong, A., Chotvichai, Y., and Prasertnu, S. (2015). Actors affecting self-directed learning of undergraduate students faculty of education chandrakasem Rajabhat university. Journal of Chandrakasem Sarn. 21(40), 137-145.

(in Thai)

Pitaksapaisal, N. (2008). Relationship between learning behaviors and electronic

media utilization of undergraduate students at King Mongkut’s University of Technology Thonburi. Master of Science in Industrial Education

King Mongkut’s University of Technology Thonburi. (in Thai)

Srisa-ard, B. (2010). Basic Research. Bangkok: Suweeriyasan. (in Thai)

Taweesin, S. (2002). Educational Psychology. Bangkok: Thai Seng Press. (in Thai)

Tough, A. (1979). The Adult’s Learning Projects. Ontario: The Ontario

Institute for Studies in Education.

Yuwamornpitak, C. (2001). Self-guided learning characteristics of Ramkhamhaeng

University undergraduate students Chalermprakiet Academic Resources. Master of education thesis Ramkhamhaeng University. (in Thai)