The Effects of the Instruction Based on Content and Language Integrated Learning (CLIL) Approach for Developing Reading Comprehension in English Language for grade 5 Students

Main Article Content

Phatthanan Sangploy

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อเปรียบเทียบทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนก่อนเรียนและหลังเรียนด้วยการสอนบูรณาการเนื้อหาและภาษา(CLIL) 2) เพื่อศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนที่มีต่อการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา(CLIL) กลุ่มตัวอย่างได้แก่นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลบางแพ(ชุมชนวัดบางแพใต้วันชัยประชาสรรค์) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 จำนวน 29 คน เครื่องมือในการวิจัยประกอบด้วย 1) แผนการจัดการเรียนรู้เนื้อหาวิชาภาษาอังกฤษ รหัสวิชา อ15101 โดยใช้การสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา(CLIL) จำนวน 3 แผน ใช้เวลาในการทดลองสอน 3 ชั่วโมง ได้แก่ 1) Solar System 2) Food and Nutrients และ 3) Love Our Environment 2) แบบทดสอบวัดทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจ เป็นแบบปรนัย ชนิดเลือกตอบ 4 ตัวเลือก จำนวน 20 ข้อเพื่อใช้ในการทดสอบก่อนและหลังเรียนด้วยการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา(CLIL) 3) แบบแบบสอบถามความพึงพอใจของนักเรียนต่อการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา(CLIL) วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพื้นฐาน ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและสถิติทดสอบ t แบบไม่เป็นอิสระต่อกัน  ผลการวิจัยพบว่า 1) ทักษะการอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความเข้าใจของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลบางแพ (ชุมชนวัดบางแพใต้วันชัยประชาสรรค์) ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2565 หลังใช้การสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL) สูงกว่าก่อนเรียน อย่างมีนัยสถิติที่ระดับ.05 2) นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนอนุบาลบางแพ (ชุมชนวัดบางแพใต้ฯ) ภาคเรียนที่ 1 ปีการศึกษา 2565 มีความพึงพอใจต่อการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL) อยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

รายการอ้างอิง

กรมวิชาการ. (2544).หลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้า

และพัสดุภัณฑ์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2555). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่สิบเอ็ดพ.ศ.

– 2559. กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

กระทรวงศึกษาธิการ.(2560). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการพ.ศ. 2560 – 2564.

กรุงเทพฯ: สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ.

กัลยา จันทร์พราหมณ์. (2562). การพัฒนาหลักสูตรรายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้

ภาษาต่างประเทศ (ภาษาอังกฤษ)ตามแนวการสอนแบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL) สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6. ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ชูขวัญ รัตนพิทักษ์ธาดา และนันทรัตน์ เจริญกุล. (2560). การบริหารวิชาการตามแนวคิดการเรียนรู้

แบบบูรณาการเนื้อหากับภาษากรณีศึกษาในเอเชีย. วารสารการบริหารและนวัตกรรมการศึกษา ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 15-31.

บุรัชต์ ภูดอกไม้. (2554). การพัฒนารายวิชาภาษาอังกฤษเชิงวิชาการตามแนวคิดการเรียนแบบ

บูรณาการเนื้อหาและภาษาเพื่อเสริมสร้างทักษะการอ่านและการเขียนของนักศึกษาปริญญาตรี. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พรพิมล ประสงค์พร. (2557). การเสริมสร้างสมรรถนะของครูในการจัดการเรียนการสอน

ภาษาอังกฤษตามแนวคิดการจัดการเรียนรู้ แบบบูรณาการเนื้อหาและภาษา (CLIL). วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปีที่ 37 ฉบับที่ 3 หน้าที่ 81-88.

ภูริชญา เผือกพรหม. (2559). การพัฒนาหลักสูตรการรู้ภาษาอังกฤษตามแนวคิดการบูรณาการ

เนื้อหากับภาษาและการเรียนรู้โดยใช้โครงงานเป็นฐานสาหรับนักเรียนมัธยมศึกษาตอนปลาย. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2546).พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมี

บุคส์พับลิเคชั่นส์.

ลัดดา หวังภาษิต. (2557). การพัฒนารูปแบบการเรียนรู้ภาษาอังกฤษที่เสริมสร้างความสุขในการ

เรียนรู้ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาโรงเรียนสาธิตสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.

สุวิทย์ มูลคำ. (2555). การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการคิด. กรุงเทพฯ: อี เค บุ๊คส์.

อาทิตย์ ศรีจันทร์ดร และคณะ. (2560). ผลของการสอนตามแนวทฤษฎีบูรณาการเนื้อหาและภาษา

(CLIL) ที่มีต่อความสามารถในการฟัง-พูด และความสนใจในการเรียนภาษาอังกฤษของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 2. วารสารศาสตร์การศึกษาและการพัฒนามนุษย์ ปีที่ 1 ฉบับที่ 2 หน้าที่ 174-186.

Bialystok, E. (2018). Bilingual education for young children: review of the effects and

consequences. International journal of bilingual education and bilingualism, 21(6), 666-679.

Celaya, Maria Luz, Ruiz de Zarobe & Yolanda. (2010). First language and age in CLIL

and non-CLIL contexts. International CLIL research journal 1 (3): 60-66.

Chuderski, A., & Jastrzębski, J. (2018). The relationship of insight problem solving to

analytical thinking: Evidence from psychometric studies. In Insight (pp. 120-142).Routledge.

Coyle, D., Hood, P and Marsh,D. 2010. CLIL. Cambridge: Cambridge University Press;

Dale, L.; & Tanner, R. ; CLIL Activities: A resource for subject and language teachers.

Cambridge: Cambridge University Press; 2012

Durbin, E. (2018). 'Its Ultimate Pattern Was Greater than Its Parts': Using a Patchwork

Quilt Analogy at Key Stage 3 to Support Analytical Thinking at GCSE. Teaching History, 172, 8-15.

Flores, N. (2016). A tale of two visions: Hegemonic whiteness and bilingual

education. Educational Policy, 30(1), 13-38.

García, O., & Wei, L. (2015).Translanguaging, bilingualism, and bilingual education. The

handbook of bilingual and multilingual education, 223-240.

Lasagabaster, D., & Sierra, J. M. (2009). Immersion and CLIL in English: more

differences than similarities. ELT journal, 64(4), 367-375.

Li, Z., Xia, S., Wu, X., & Chen, Z. (2018). Analytical thinking style leads to more

utilitarian moral judgments: An exploration with a process-dissociation approach. Personality and Individual Differences, 131, 180-184.

Lorenzo, E., Schneider, N., Cobb, K. M., Franks, P. J. S., Chhak, K., Miller, A. J., ...&

Powell, T. M. (2008). North Pacific Gyre Oscillation links ocean climate and ecosystem change. Geophysical Research Letters, 35(8).

Milne, C. J., Krasniqi, F. S., Zijlstra, E. S., Garcia, M. E., ...& Ingold, G. (2008). Nanoscale

depth-resolved coherent femtosecond motion in laser-excited bismuth. Physical review letters, 100(15), 155501.

Pérez Cañado, M. L. (2016). Teacher training needs for bilingual education: In-service

teacher perceptions. International Journal of Bilingual Education and Bilingualism, 19(3), 266-295.

Porter, R. (2017). Forked tongue: The politics of bilingual education.Routledge.

Sukmaningthias, N., & Hadi, A. R. (2016). Improve Analytical Thinking Skill and

Mathematical Representation of The Students Through Math Problem Solving. In Proceeding of 3rd international conference on research, implementation and education of mathematics and science (pp. 449-454).

Thaneerananon, T., Triampo, W., & Nokkaew, A. (2016). Development of a Test to

Evaluate Students' Analytical Thinking Based on Fact versus Opinion Differentiation. International Journal of Instruction, 9(2), 123-138.

Várkuti, A..( 2010). Linguistic Benefits of the CLIL Approach: Measuring Linguistic

Competences.International CLIL Research Journal 1(3), 67-79.