รูปแบบการเรียนรู้แบบปรับเปลี่ยนได้ (Hybrid Learning) เพื่อส่งเสริมความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้และความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ สำหรับนักศึกษาครู

Main Article Content

สุดาพร ปัญญาพฤกษ์

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบปรับเปลี่ยนได้ เพื่อศึกษาความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ และความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และศึกษาความคิดเห็นที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปรับเปลี่ยนได้ มีกลุ่มตัวอย่าง คือ นักศึกษาโปรแกรมวิทยาศาสตร์ ชั้นปีที่ 2 จำนวน 25 คน มีเครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ โครงการสอนรายวิชา EDP2201 วิธีวิทยาการจัดการเรียนรู้ ตามรูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบปรับเปลี่ยนได้ แบบประเมินความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้ แบบประเมินความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และแบบสอบถามความคิดเห็นที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ มีการวิเคราะห์ข้อมูล โดยการหาค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เชิงเนื้อหา มีผลวิจัย ดังนี้


  1. รูปแบบการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแนวคิดการเรียนรู้แบบปรับเปลี่ยนได้ มีความเหมาะสมในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ย 62 (S.D.=0.54) มี 5 ขั้น คือ 1) เตรียมความพร้อม 2) นำสู่ความรู้ 3) สร้างองค์ความรู้ 4) แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และ 5) สะท้อนคิด มีลักษณะการเรียนรู้ คือ F2F SDL Online และ Offline

  2. ความสามารถในการเขียนแผนการจัดการเรียนรู้และความสามารถในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ของนักศึกษาครู โดยรวมอยู่ในระดับมาก

  3. ความคิดเห็นที่มีต่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้แบบปรับเปลี่ยนได้ นักศึกษาอยู่ในระดับมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

Bonk, C. J. and Graham, C. R. (2012). The handbook of blended learning:

Global perspectives, local designs. San Francisco: Pfeiffer.

Chantem, S. (2010). “Hybrid Learning and Educational Innovation of

Accounting Teaching in the 21st Century: A Case Study of the University

of the Thai Chamber of Commerce”. Academic Journals

University of the Thai Chamber of Commerce 30 (1): 134-150. (in Thai)

Fhanchen, N. (2021). Hybrid Learning: Solution for New Education. [Online].

Retrieved November 13, 2021 from

https://www.trueplookpanya.com/blog/content/89235/-

blog-teaartedu-teaart- (in Thai)

Huang, R., Ma, D. and Zhang, H. (2008). Towards a design theory of blended

learning curriculum. [Online]. Retrieved January 13, 2023 from http://ihlsociety.org/ICHL2008/LNCS-

Proceedings/ICHL2008_RonghuaiHuang_13pages.pdf

Lertbumrungchai, K. (2021). Hybrid Learning. [Online]. Retrieved November 13, 2021 from

https://touchpoint.in.th/hybrid-learning/ (in Thai)

Panich, V. (2012). The Ways to Create Learning for Students in the 21st Century. Bangkok:

Sodsi-Sakitwong Foundation. (in Thai)

Prapasanobol, V., Thongkam, S., Sithsungnoen, C. and Nillapun, M. (2022). “The Guidelines for

the development of programs in the 21st century”. Journal of Education Silpakorn University

(2): 74-89. (in Thai)

Supakworakul, C., Hoksuwan, S. and Chompulong, N. (2017). A Development of Instructional System

with Hybrid Learning for Undergraduate Students at Rajabhat University. Journal of Educational

Measurement Mahasarakham University 23 (1): 66-77. (in Thai)

Thatthong, K. (2016). Principles of Learning Management. Nakhon Phathom: Phetkasem Printing.

(in Thai)

Tanachaikhan, N. (2009). Basic Statistics for Research. Bangkok: Witthayaphat. (in Thai)

Thongnoppakhun, W. (2014). “What is the Skills for Life in the 21st Century?, How is this

Important?” 21st Century Skills: The Challenges Ahead. [Online]. Retrieved December 11,

from https://www.education.pkru.ac.th (in Thai)

Wannasri, J. (2020). Innovation Management for School Administration. Phitsanulok: Rattanasuwan

Printing 3. (in Thai)

World Health Organization. (2021). Timeline: WHO's COVID-19 response. [Online]. Retrieved May 20,

, from https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/interactive-

timeline#event-72