Development of Research Article Reading Ability for English Major Students Using Reading Instructional Model Based on Task- Based Learning Approach

Main Article Content

WIPADA PRASANSAPH

บทคัดย่อ

การศึกษาวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงทดลอง (Experimental Research) โดยมีวัตถุประสงค์ 2 ข้อดังนี้ 1) เพื่อเปรียบเทียบความสามารถในการอ่านงานวิจัยภาษาอังกฤษของนักศึกษาครูสาขาวิชาภาษาอังกฤษก่อนและหลังการที่ได้รับการสอนด้วยรูปแบบวิธีการสอนอ่านแบบเน้นภาระงาน และ 2) เพื่อศึกษาความคิดเห็นของนักศึกษาครูสาขาภาษาอังกฤษที่มีต่อรูปแบบวิธีการสอนอ่านแบบเน้นภาระงาน กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัยครั้งนี้คือ นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ ชั้นปีที่ 4 ปีการศึกษา 2564 จำนวน 73 คน ที่ได้มาจากการเลือกโดยการสุ่มแบบกลุ่ม (Cluster Random Sampling ผู้วิจัยได้ดำเนินการวิจัยครั้งนี้ ในภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โดยใช้เวลา 8 สัปดาห์ สัปดาห์ละ 3 ชั่วโมง รวม 24 ชั่วโมง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยได้แก่ 1) แผนการจัดการเรียนรู้ตามรูปแบบวิธีสอนอ่านแบบเน้นภาระงาน  2) แบบทดสอบวัดความสามารถในการบทความวิจัยภาษาอังกฤษ และ 3) แบบสอบถามวัดความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อรูปแบบวิธีสอนอ่านแบบเน้นภาระ โดยใช้ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐานและค่าสถิติที (t-test) แบบไม่เป็นอิสระต่อกันในการวิเคราะห์ข้อมูล ผลการวิจัย พบว่า 1) ความสามารถในการอ่านงานวิจัยภาษาอังกฤษของนักศึกษาครูสาขาวิชาภาษาอังกฤษหลังเรียนด้วยรูปแบบวิธีการสอนอ่านแบบเน้นภาระงานสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) นักศึกษาครูสาขาวิชาภาษาอังกฤษมีความคิดเห็นต่อรูปแบบวิธีการสอนอ่านแบบเน้นภาระงานโดยรวมอยู่ในระดับเห็นด้วยมากที่สุด

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

ภาษาไทย

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฎสวนสุนันทา. (2560). หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาภาษาอังกฤษ (หลักส๖รปรับปรุง พุทธศักราช 2560). กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนสุนันทา.

ภาษาอังกฤษ

Araujo, A. & Slomski, V. (2013). Active Learning Methods - An Analysis of Applications and Experiences in Brazilian Accounting teaching.

Creative Education, 4, 20-27. Best, John, W. and Kahn, J.V. (1986). Research in education. Englewood Cliffs: Prentice-Hall, Inc.

Carr, R., Palmer, S. & Hagel, P. (2016). Active Learning: The Importance of Developing a Comprehensive Measure. Active Learning in

Higher Education 16: 173-186.

Clément, Richard & Kruidenier, B.G.. (2022). Motivation, self-confidence and group cohesion in the foreign language classroom. Journal of

Language and Social Psychology 4: 21-37.

Cohen, L., Manion, L. & Morrison. K. (1996). A guide to teaching practice. London: Routledge.

Echiverri, Leah & Lane, Keith. (2019). Influence of Learning Attitudes and Task-Based Interactive Approach on Student Satisfaction and

Perceived Learning Outcomes in a Content and Language Integrated Learning (CLIL) University Course in China. Ressearchgate

[Online]. Retrieved April 5, 2022, from https://www.researchgate.net/publication/333347281.

Ellis, R. (2003). Task-based language learning and teaching. Oxford: Oxford University Press.

Facione, P.A., (1984). Toward a theory of critical thinking. Liberal Education 70: 253–261.

Hong-qin, Y. (2007). Application of TBT in reading class. US-China Education Review 4(5): 39-42.

Hudson, T. (2007). Teaching second language reading. Oxford: Oxford University Press.

Jamila, S. & Maslawati, M. (2017). Identifying the Effectiveness of Active learning Strategies and benefits in Curriculum and Pedagogy

Course for Undergraduate TESL Students. Creative Education 8(14): 2312 - 2324.

Kim, Y. & McDonough, K. (2011). Using pretask modelling to encourage collaborative learning opportunities. Language Teaching

Research 15(2): 183–199.

Long, M. H. (1983). “Native speaker/non-native speaker conversation and the negotiation of comprehensible input.” Applied Linguistics

(3): 126-141.

Long, M., & Crookes, G. (1992). “Three approaches to task-based syllabus design.” TESOL Quarterly 26(1): 27-56.

Nunan, D. (2004). Task-based language teaching. Cambridge: Cambridge University Press.

Prabhu, N. S. (1987). Second language pedagogy. Oxford, UK: Oxford University Press.

Wallace, C. (2003). Critical Reading in Language Education. New York: Palgrave Macmillan.

Willis, J. (1996). A framework for task-based learning. London: Longman.