การส่งเสริมองค์ประกอบตามแนวคิดผู้เรียนเป็นสำคัญเพื่อการพัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน

Main Article Content

กีรติ คุวสานนท์
ภาวิณี โสธายะเพ็ชร

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


การจัดการเรียนรู้เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทั้งความเข้าใจและความสามารถประยุกต์ใช้ความรู้เพื่อพัฒนา หรือแก้ไขปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นได้ในชีวิตประจำวัน เป็นกระบวนการที่ต้องอาศัยเวลาและการเรียนรู้ แนวคิดผู้เรียนเป็นสำคัญเป็นหนึ่งในแนวคิดด้านการเรียนรู้ที่สามารถพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนได้ ตามแนวคิดนี้ผู้สอนสามารถจัดกิจกรรมและประสบการณ์ให้กับผู้เรียนได้เรียนรู้ผ่านบทเรียนของแต่ละรายวิชา ควบคู่ไปกับกับการจัดสภาพแวดล้อมและสถานการณ์นอกบทเรียนที่เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการแก้ปัญหาในชีวิตประจำวัน ซึ่งการจัดสร้างบรรยากาศและประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดผู้เรียนเป็นสำคัญ ผู้สอนควรคำนึงถึงสี่องค์ประกอบ คือ ผู้เรียน  สภาพแวดล้อม การจัดกิจกรรมการเรียนการสอน และ ครู ในการจัดการเรียนรู้เพื่อให้เกิดผลการเรียนรู้ที่พัฒนาสมรรถนะของผู้เรียน พร้อมกับการเสริมสร้างคุณลักษณะและทัศนคติดที่ดีต่อการเรียนรู้และสิ่งที่ได้เรียนรู้เพื่อเป็นพื้นฐานที่ดีในการพัฒนาตนเองต่อไป 

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Articles)

References

Anderson, L. W., & Krathwohl, D. R. (2001). A taxonomy for learning, teaching, and assessing: A revision of Bloom's taxonomy of educational objectives. New York: Longman.
Burnard, P. (1999). Car; Rogers and postmodernism: Challenged in nursing and health sciences, Nursing and Health Sciences1, 241-247.
Gardner, H. (2006). Multiple intelligences: New horizons. New York: Basic Books.
Maslow, A. H. (1962). Toward a psychology of being. Princeton, New Jersey: D. VanNostrand.
O’ Sullovan, M. (2004). The reconceptualisatioin of learner-centered approaches: A Namibian case study. International Journal of Education Development, 24(6), 585-602.
Rogoff, B. (1999). Why no in England? In J. Leach and B. Moon (Eds.), Learners and Pedagogy. London: Sage Publication
Rogers, C. R. (1983). As a teacher, can I be myself? In Freedom of learn for the 80 ‘s. Ohio: Charles E. Merrill Publishing Company.
Simon, B. (1999). Why no in England? In J. Leach and B. Moon (Eds.), Learners and Pedagogy. London: Sage Publication
ทิศนา แขมณี. (2557). ศาสตร์การสอน องค์ความรู้เพื่อกี่จัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. พิมพ์ครั้งที่ 18.กรุงเทพ: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และ พะเยาว์ ยินดีสุข. (2550). ทักษะ 5 C เพื่อพัฒนาหน่วยการเรียนรู้และการจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการ. กรุงเทพ: พิมพ์ดี
เพ็ญศรี พงษ์ประภาพันธ์, ทิพพาพรรณ เดียวประเสริ และวิสาลินี นุกันยา. (2554), สมรรถนะการจัดการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสำคัญ ตามการรับรู้ของอาจารย์และนักศึกษามหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี กรุงเทพมหานคร. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 21(2), 29-38.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (2562). แนวทางการพัฒนาสมรรถนะผู้เรียนระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กลุ่มมาตรฐานการศึกษาสำนักมาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. กรุงเทพ