The การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา รายวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Modal Verbs สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร การพัฒนาแอปพลิเคชันเพื่อการศึกษา รายวิชาภาษาอังกฤษ เรื่อง Modal Verbs สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 3 คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
Main Article Content
บทคัดย่อ
The purposes of this study were 1) to develop applications for education with Modal Verbs in English course for the 3rd students of Faculty of Education Silpakorn University, 2) to compare learning outcomes before learning and after learning from using applications for education with Modal Verbs in English course for the 3rd year students of Faculty of Education Silpakorn University, and 3) to assess the satisfaction of the 3rd year students of the Faculty of Education Silpakorn University to the applications for education Modal Verbs in English Course. 3rd students in group 11 who study English course were drawn to be the sample of the study. Learning groups were used as random units by using simple random sampling. The research
Instruments were 1) applications for education Modal Verbs in English Course, 2) pre-test and post-test, 3) questionnaire for students’ satisfaction from using applications for education with Modal Verbs in English course. The data which were analyzed by Mean, Standard Deviation IOC, and t-Test dependent Sample.
The results were found as follows: 1) application evaluation results for education with Modal Verbs in English course from 3 content experts and 3 design experts found that the content evaluation: overall is at a good level (= 3.76, S.D. = 0.25) and the design aspect: overall is at a good level (= 3.76, S.D. = 0.25) 2) the comparison of learning outcomes found that students who had learned from using applications for education with Modal Verbs in English course had a higher level of learning outcomes (= 13, S.D. = 2.41) than before learning (= 8.55, S.D. = 2.75) with statistical significance at the level of .05 3) the satisfaction of the 3rd year sample group towards the educational applications with Modal Verbs in English courses, overall score was at a high level (= 4.14, S.D. = 0.45).
Article Details
References
จรัส พงเจริญ. (2560). ผลการเรียนด้วยเว็บแอปพลิเคชันการศึกษาโดยใช้กระบวนการแก้ปัญหาเพื่อ ส่งเสริมความสามารถในการเขียนโปรแกรมบนเว็บของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 5. สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พรทิพย์ วงศ์สินอุดม. (2558). การพัฒนาแอปพลิเคชันบทเรียนบนคอมพิวเตอร์พกพา ร่วมกับการเรียน แบบเพื่อนช่วยเพื่อน ที่ส่งผลต่อการเรียนรู้ร่วมกันของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 จังหวัดเพชรบุรี. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา, บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
พวงรัตน์ ทวีรัตน์. (2543). วิธีการวิจัยทางพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 8. กรุงเทพฯ: ศูนย์หนังสือจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
เพชรไพลิน รัสดีดวง และคณะ. (2560). โมบายแอปพลิเคชันส่งเสริมกีฬาวอลเลย์บอลบนระบบปฏิบัติการ แอนดรอยด์. การประชุมวิชาการระดับชาติราชภัฏเพชรบุรีวิจัยศิลปวัฒนธรรม ครั้งที่ 4 ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏเพชรบุรี. 3 ธันวาคม 2560.
เพ็ญศรี เศรษฐวงศ์. (2544). ระเบียบวิธีวิจัยการศึกษาเบื้องต้น Introduction to Educational Research Methodology. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ภิญญาพัชญ์ ทาสาธนตัยต์ระกูล. (2559) การพัฒนาแอปพลิเคชันชุดการเรียนรู้ภาษาสำหรับเด็กบน โทรศัพท์เคลื่อนที่. รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ.
รมณียา สุรธรรมจรรยา. (2558). ผลการใช้แอปพลิเคชันสำหรับสอนคำศัพท์ภาษาอังกฤษบนแท็บเล็ตวิชา ภาษาอังกฤษสำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา ประถมศึกษาราชบุรี เขต 2. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตร์มหาบัณฑิต, สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา , บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ศักดิ์ชัย คีรีศรี. (2538). ระเบียบวิธีวิจัย. สงขลา: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย วิทยาเขต ภาคใต้.
สุวิมล ติรกานันท์. (2557). ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์: แนวทางสู่การปฏิบัติ. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
ภาษาต่างประเทศ
Dr.R.Sivakumar. (2015). ANDROID APP IN TEACHING ENGLISH. Annamalai University.