การพัฒนาทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โดยการจัดการเรียนรู้เเบบเน้นภาระงาน

Main Article Content

Chokchai Taecho

บทคัดย่อ

             การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) เปรียบเทียบทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน และ 2) ศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยนี้คือนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยศิลปากร (ปฐมวัยและประถมศึกษา) จำนวน 33 คน โดยได้มีการบันทึกภาพและเสียงเพื่อเป็นข้อมูลในการประเมินพัฒนาการของนักเรียนระหว่างการจัดการเรียนรู้ และการวิเคราะห์ข้อมูลใช้ การวิเคราะห์ค่าร้อยละ (%) ค่าเฉลี่ย () ค่าส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D) ค่า t-test แบบ Dependent และการวิเคราะห์เนื้อหา (Content Analysis)


             ผลการวิจัย พบว่า 1) ทักษะการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวันของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 หลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2) ผลการศึกษาความพึงพอใจของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 5 ที่มีต่อการจัดการเรียนรู้แบบเน้นภาระงาน โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านพบว่า ด้านที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด  คือ ด้านประโยชน์ที่ได้รับจากการเรียนรู้ ด้านกิจกรรมการจัดการเรียนรู้ และด้านบรรยากาศการจัดการเรียนรู้  ตามลำดับ

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

Ana Carolina Buitrago Campo. (2016). “Improving 10th Graders’ English Communicative Competence Through the Implementation of the Task-Based Learning Approach”
Universidad de Antioquia, Medellín, Colombia.
Bailey, K.M. (2005). Practical English Language Teaching: Speaking. New York: McGraw-Hill.
Bunsoong,S. (1997). Chētakhati thī mī tō̜ kān rīan kānsō̜n phāsā ʻAngkrit khō̜ng nakrīan chan prathomsưksā pī thī hā - hok thī phūt phāsā Thai pen phāsā thī sō̜ng.
[Attiude Towards English Language Instruction of Students in Prathom Suksa 5-6 Who speak Thai as a Second Language] (Master degree Independent study in
Graduate School Chiang Mai University).
สกุณา บุญสูง.(2540) . เจตคติที่มีต่อการเรียนการสอนภาษาอังกฤษของนักเรียน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 5-6 ที่พูดภาษาไทยเป็นภาษาที่สองเชียงใหม่(ปริญญานิพนธ์มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่)
Chung. (2014). Vietnam considers using CEFR-V standard for English teaching. [Online]. Retrieved February 15.2018, from https://english.vietnamnet.vn
/fms/education/116476/vietnam-considers-using-cefr-v-standard-for-english-teaching.html.
Department of International Trade Promotion Ministry of Commerce (DITP). (2015). “Phāsā ʻAngkrit Thai rangthāi ngoppramān phit čhut” [The poorest English with Budget
mistakes]. Retrieved January 1, 2019, from https://ditp.go.th.
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ กระทรวงพานิชย์ DITP. (2558). ภาษาอังกฤษไทยรั้งท้ายงบประมาณผิดจุด. สืบค้นเมื่อ 1 มกราคม 2562, จาก //https://ditp.go.th
Finocchiaro, M., & Bonomo, M. (1973). The foreign language learner: A guide for teachers. NewYork: Regents.
Juntiya, T.(2015). Kānphatthanā rūpbǣp kānsō̜n ʻān phāsā ʻAngkrit thī nēn phāra ngān læ nǣothāng kān rīanrū phāsā phư̄a khwāmrū khwāmkhaočhai thāng wichākān phư̄a
songsœ̄m thaksa kān ʻān chœ̄ng wichākān læ kon yut kān rīanrū samrap naksưksā radap parinyā trī. [The Development of Task-based and cognitive academic
language learning approach : CALLA English reading instructional model to enhance academic reading skills and learning strategies for undergraduate
students] (Doctor of Philosophy Thesis in Curriculum and Instruction Graduate School Silpakorn University).
ทัศนีย์ จันติยะ. (2558). การพัฒนารูปแบบการสอนอ่านภาษาอังกฤษที่เน้นภาระงานและแนวทางการเรียนรู้ภาษาเพื่อความรู้ความเข้าใจทางวิชาการ เพื่อส่งเสริมทักษะการอ่านเชิงวิชาการและกลยุทธ์การเรียนรู้
สำหรับนักศึกษาระดับปริญญาตรี. (ปริญญาดุษฎีบัณฑิต หลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยศิลปากร).
Laksana, S. (1998). Nǣothāng kānprakan khunnaphāp kānsưksā. [Educational quality assurance guidelines for teachers] August-September Bangkok : Kurusapa Ladphrao,
Reading Difficulties: Instruction and Assessment.18 (6): 2
สงบ ลักษณะ. (2541). แนวทางการประกันคุณภาพการศึกษา. วารสารข้าราชครู. 18(6): 2
Littlewood, W. (1981). Communicative language teaching. Cambridge:Cambridge University Press.
Moammad Aliakbari and Behroz Jamalvandi. (2010). The Impact of ‘Role Play’ on Fostering EFL Learnings’ Speaking Ability; a Task-Based Approach. Ilam University-Iran.
Mohammad Mohammadipour, Sabariah MD Rashid. (2015). The Impact of Task-Based Instruction Program on Fostering ESL Learners’ Speaking Ability: A Cognitive Approach.
Faculty of Modern Languages and Communication. Putra University.
Morrow, K. (1981). “Principle of Communicative and Methodology”in Communication in the Classroom. Applications and Methods for Communicative Approach. London :
Longman.
Praphataranon, J. (2013).“Kānphatthanā kān rīan phāsā ʻAngkrit phư̄a kānsư̄sān dōi chai kitkamkān rīanrū bǣp nēn ngān patibat ( Task - based learning ) khō̜ng nakrīan
chan prathomsưksā pī thī sām”[Development of Communicative English Learning Through Task -based learning of Pratomsuksa III students]. (Master of
Education Thesis Program in Curriculum and Instruction Graduate School Burapha University).
จิราพร ประพัศรานนท์. (2557). “การพัฒนาการเรียนภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารโดยใช้กิจกรรมการเรียนรู้แบบเน้นงานปฏิบัติ (Task-based learning) ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 3”(วิทยานิพนธ์การ
ศึกษามหาบัณฑิต สาขาหลักสูตรและการสอน มหาวิทยาลัยบูรพา).
Taylor, S. E. (1983). Adjustment to Threatening Events: A Theory of Cognitive Adaptation. American Psychologist, 38, 1161-1173.
Thornbury, S. (2005). How to teach speaking. Bangkok. Pearson Education Indochina Ltd: Bangkok.
Willis, J. (1996). A Framework for task-based learning. Harlow: Addison Wesley Longman.