The Development of Local Innovation Management Model in Western Region

Main Article Content

pawena bunnag

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์  1) เพื่อศึกษาสภาพของการบริหารจัดการนวัตกรรมท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตภูมิภาคตะวันตก  2) เพื่อศึกษาวิธีปฏิบัติที่เป็นเลิศ (Best Practice) ของการบริหารจัดการนวัตกรรมท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบล  3) เพื่อพัฒนารูปแบบการบริหารจัดการนวัตกรรมท้องถิ่นขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตภูมิภาคตะวันตก


            ผลการวิจัยพบว่า 1) ในการศึกษาลักษณะโครงการนวัตกรรมท้องถิ่น พบว่าลักษณะเป็นโครงการริเริ่มใหม่มากที่สุด  โดยมีนายกอบต.เป็นผู้มีบทบาทสำคัญในการตัดสินใจ/คิดริเริ่มโครงการ/กิจกรรมหนึ่งๆ  โดยปัจจัยสำคัญที่สุดในการเกิดนวัตกรรมท้องถิ่นในอบต. คือ ผู้นำ/ผู้บริหารองค์กร   สาเหตุที่ทำให้อบต.ไม่มีนวัตกรรมท้องถิ่นพบว่า สาเหตุ คือขาดผู้ริเริ่ม/คิดค้น/กระตุ้นให้เกิดนวัตกรรมท้องถิ่น ความคิดเห็นเกี่ยวกับการบริหารจัดการนวัตกรรมท้องถิ่นโดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก  2) แนวปฏิบัติที่เป็นเลิศได้แก่ 1.ผู้นำมีภาวะความเป็นผู้นำสูง 2.ทีมงานมีคุณภาพและมีอุดมการณ์เดียวกัน 3.การมีส่วนร่วมของประชาชน 4.การทำงานแบบเครือข่าย 5.กระบวนการทำงานเชิงรุก 6.การติดตามและประเมินผลโครงการอย่างเป็นระบบ 7.การพัฒนาต่อยอดและถ่ายทอดนวัตกรรม โดยมีปัจจัยที่เกี่ยวข้องในการบริหารจัดการนวัตกรรมท้องถิ่น ได้แก่ นโยบายภาครัฐ, ผู้นำองค์กร, วัฒนธรรมองค์กร, ความรู้ความสามารถของบุคลากร, การมีส่วนร่วมของประชาชน, การสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก  3) รูปแบบการบริหารจัดการนวัตกรรมท้องถิ่น ประกอบด้วย ด้านปัจจัยนำเข้า ได้แก่ ผู้นำ วัฒนธรรมองค์กร ความรู้ความสามารถของบุคลากร การมีส่วนร่วมของประชาชน การสนับสนุนจากหน่วยงานภายนอก ด้านกระบวนการ ได้แก่ การวางแผน การจัดองค์กร การสั่งการ การจัดการบุคลากร การบริหารงบประมาณ และการติดตามประเมินผล  ด้านผลผลิตที่ได้คือนวัตกรรมท้องถิ่น

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

Akkhara, W. (2008). From local to international : leapfrog strategies 5 local government organizations. Retrieved April 26, 2019, from https://www.lppao.go.th
/information/view.php?id_view=150/.
Chatamena, W., Warasai, W., Jindapol, R. (2008). Factors of success in the management and
implementation of Phrae Provincial Administrative Organization and Phitsanulok
Provincial Administrative Organization. The Thailand Research Fund (TRF.).
Department of Local Administration. (2015). Local record 2558. Bangkok : Department of
Local Administration.
Khruathep, W. (2005). Creative innovation of local government organizations. Bangkok : The
Thailand Research Fund (TRF.).
Lamyai, W. (2014). The development of a good management model of the subdistrict
administrative organization for community development in the eastern region.
Silpakorn University.


Lilanukrom, R. (1997). Study organizational culture and overall quality management Case
studies of quality culture in the customer service department of multional
companies. National Institute of Development Administration.
Phakdilao, W. (2011). The study of the characteristics of the organization of innovation : a case
study of organizations that have won the innovation award. National Institute of
Development Administration.
Rotwatthanabun, O. (2010). Innovative Leadership Development. National Institute of
Development Administration.
Sornmanee, C. (2012). Public service innovation creation by the Tambon Administrative
Organization. The Thailand Research Fund (TRF.).
Wangmahaphon, P. (2007). Innovative implementation of the elderly policy of the local
government organization. The Thailand Research Fund (TRF.).
Ailin,M.,& Lindgren, P. (2008). Conceptualizing strategic innovation leadership for
competitive survival and excellence. Journal of Knowledge Globalization,
I(2), 87-108.
Bass, B.M.,& Avolio, B.J. (1994). Introduct. In B. M. Bass & B.J. Avolio (Eds.), Improving
organizational effectiveness through transformational leadership. Thousand Oaks,
CA:Sage.
Jeroen P.J. de Jong, Deanne N. Den Hartog, (2007). How leaders influence employees
Innovative Behavior. European Journal of Innovation Management, Vol. 10 Issue :
1, pp.41-64.
Porter, M. (1990). The competitive advantage of nations. London: Free Press.