สภาพและปัญหาของครูในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับเด็กวัยอนุบาล

Main Article Content

ปรียาภรณ์ คงแก้ว

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


           การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาสภาพและปัญหาของครูในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับเด็กอนุบาลใน 3 ด้าน ได้แก่  การวางแผนการจัดการเรียนรู้    การจัดการเรียนรู้ และการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ คือ ครูอนุบาลในโรงเรียนสังกัด สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานที่เข้าร่วมการอบรมเชิงปฏิบัติการการ ศึกษานิเทศก์ และครูแกนนำระดับปฐมวัย หลักสูตรการจัดกิจกรรมการบูรณาการตามแนวทางสะเต็มศึกษาในระดับปฐมวัย จำนวน 278 คน จาก 4 ภูมิภาค เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย คือ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ แบบสังเกตพฤติกรรม และแบบสำรวจ วิเคราะห์ข้อมูลโดยการแจกแจงความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์เนื้อหา


        ผลการวิจัยพบว่า สภาพการปฏิบัติของครูในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับเด็กอนุบาล มีระดับปฏิบัติการในการระดับมาก ( gif.latex?\fn_cm&space;\large&space;\bar{x}}= 4.00) ด้านที่มีค่าเฉลี่ยคะแนนการปฏิบัติสูงที่สุด คือด้านการวางแผนการจัดการเรียนรู้ ( gif.latex?\fn_cm&space;\large&space;\bar{x}}= 4.09) รองลงมาคือ ด้านการประเมินผลการจัดการเรียนรู้ (gif.latex?\fn_cm&space;\large&space;\bar{x}}= 4.00) และด้านการจัดการเรียนรู้ (gif.latex?\fn_cm&space;\large&space;\bar{x}}= 3.92) ตามลำดับ


       ปัญหาของครูในการจัดประสบการณ์การเรียนรู้แบบสะเต็มศึกษาสำหรับเด็กอนุบาลที่พบมากที่สุด คือ การจัดการเรียนรู้ รองลงมาคือ การประเมินผลการจัดการเรียนรู้ และการวางแผนการจัดการเรียนรู้

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Articles)

References

ภาษาไทย
กระทรวงศึกษาธิการ, สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (สสวท.) (2558). ความรู้เบื้องต้น สะเต็มศึกษา. กรุงเทพฯ: สกสค.ลาดพร้าว.
ชลาธิป สมาหิโต. (2557). การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ตามแนวคิดสะเต็มศึกษาในระดับปฐมวัย. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 30(2).
ดวงกมล เพิ่มพูลทวีทรัพย์. (2554). นโยบายส่งเสริมและพัฒนาบุคคลากรด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประเทศสหรัฐอเมริกา. สำนักงานที่ปรึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีประจำกรุง
วอชิงตัน ดีซี ประเทศสหรัฐอเมริกา.
นุชนภา ราชนิยม. (2558). การศึกษาสภาพปัญหาและความพร้อมของการจัดการสอนรูปแบบสะเต็มศึกษาในระดับประถมศึกษากรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
สาขาประถมศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สติยา ลังการ์พินธ์. (2558). STEM Education สร้างเด็กไทยให้เต็มคน 10 แนวทางการจัดการเรียนรู้สะเต็มศึกษา. สืบค้น 2 กุมภาพันธ์ 2560,
จากhttp://www.vcharkarn.com/stem/article/503228
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2558). คู่มือสะเต็มศึกษา. กรุงเทพฯ: กระทรวงศึกษาธิการ.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2560). เอกสารประชาสัมพันธ์การจัดอบรมเชิงปฏิบัติการสะเต็มศึกษา สืบค้น 2 กุมภาพันธ์ 2560,
จาก http//www.reg.ipst.ac.th/?_event=stemworkshop.
สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2559). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่12 (พ.ศ.2560-2564). กรุงเทพฯ: สำนักนายยกรัฐมนตรี.
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ. (2557). วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน. ปทุมธานี: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2559). ประเทศไทย 4.0. สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร.
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2556). ถอดบทเรียนการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อสร้างสรรค์ด้วยปัญญา(Constructionism) ของสถานศึกษาชุมชนภาคธุรกิจและ อุตสาหกรรม. กรุงเทพฯ:
บริษัท ๒๑ เซ็นจูรี่.
สุทธิดา จำรัส. (2559). สะเต็มศึกษาบนเส้นทางวิชาการรับใช้สังคม จุดเปลี่ยนการเรียนรู้สู่อนาคต. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์, 31(3).
สุวิทย์ มูลคำ. (2550). ครบเครื่องเรื่องการคิด. (พิมพ์ครั้งที่9). กรุงเทพฯ: ภาพพิมพ์.
ภาษอังกฤษ
Bybee Rodger w. (2013). The case for Stem Education:Challenges and Opportunities. Arlington: National Science Teachers Association.
Diana Laboy-Rush. (2009). Interated STEM Education through Project-Based Learning.Retrieved March 1, 2017 , from. www.Leraning.com
Kennedy, T.J, & Odell, M. R. L. (2014). Engaging student in stem education. Science Education International.
Ong, E. T, (2016). The effectiveness of an in-service traning of early childhood teachers on stem integration through project-based Inquiry Learning (PIL). Journal of Turkish
Science Education, 13 (Specialissue).
Robert A. (2013). STEM is here Now What? Technology and Engineering Teacher.
Stohlman, M., Moore , T. J., & Roehrig , G. H. (2012). Considerations For Teaching Integrated STEM Education. Pre-College Engineering Education Research
(J-PEER), 2(1).
Vasquez, J., Sneider, C., and Comer, M. (2013). STEM Lesson Essentials Grades 3-8: Integrating Science, Technology, Engineering and Mathematics. Portsmouth, NH:
Heinemann.