การจัดการเรียนรู้พลศึกษาในโรงเรียน สำคัญอย่างไร

Main Article Content

ดิศพล บุปผาชาติ

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ นำเสนอความสำคัญของการเรียนการสอนวิชาพลศึกษา ที่เป็นรากฐานสำคัญต่อการพัฒนาเด็ก และเยาวชน จากการศึกษาและงานวิจัยที่ผ่านมาพบว่าการเรียนการสอนในวิชาพลศึกษา สามารถพัฒนาผู้เรียนในด้านต่าง ๆ ได้ดังต่อไปนี้ 1. การพัฒนาทางด้านร่างกาย  2. การพัฒนาทางด้านสมอง 3. พัฒนาทางด้านสังคม 4. พัฒนาทางด้านจิตใจ 5. การพัฒนาทางด้านอารมณ์ ด้วยเหตุนี้ทั้ง 5 ส่วน เป็นสิ่งสำคัญต่อการพัฒนาการเจริญเติบโต และสติปัญญา ของเด็ก และเยาวชนให้สมบูรณ์ เป็นคนที่มีคุณภาพของสังคม และประเทศชาติสืบไป

Article Details

บท
บทความวิชาการ (Articles)

References

กระทรวงศึกษาธิการ.(2551). สาระและมาตรฐานกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษาตาม
หลกัสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2561 จาก http://www.psc.ac.th/docs/laws/education_core2551.pdf
เจริญ กระบวนรัตน์ (2557). วิทยาศาสตร์การฝึกสอนกีฬา. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ : กรุงเทพฯ
ถนอมวงค์ กฤษณ์เพ็ชร์ (2538). ประวัติการพลศึกษาไทย. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพ ฯ
ปนิษฐา เรืองปัญญาวุฒิ (2556). ผลของการจัดการเรียนรู้วิชาพลศึกษาโดยใช้เกมการละเล่นพื้นบ้านไทยที่มีต่อสุขสมรรถนะของนักเรียนประถมศึกษา. ปริญญานิพนธ์, มหาวิทยาลัยศรี นครินทรวิโรฒ ประสานมิตร.
พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน. (2554). พจนานุกรม ฉบับราชบัณฑิตยสถาน 2554 [ออนไลน์]. สืบค้นเมื่อ 23 สิงหาคม 2561 จาก http://www.royin.go.th/dictionary/
ละเมียด กรยุทธพิพัฒน์ (2551). หลักการจัดพลศึกษา ในโรงเรียนมัธยม. มหาวิทยาลัยรามคำแหง :กรุงเทพ ฯ.
วรศักดิ์ เพียรชอบ (2561). ปรัชญา หลักการ วิธีสอน และการวัดเพื่อประเมินผลทางการศึกษา. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย: กรุงเทพ ฯ.
สนธยา สีละมาด (2551). หลักการฝึกกีฬาสำหรับผู้ฝึกสอนกีฬา. พิมพ์ครั้งที่ 3. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย : กรุงเทพ ฯ.
อุมาพร สุทัศน์วรวุฒิ และสมศรี เจริญเกียรติกุล (2548). ประสิทธิภาพของการเพิ่มการออกกำลังกายต่ออัตราการเพิ่มมวลกระดูกของเด็กหญิง. [ออนไลน์] สืบค้นเมื่อ 28 สิงหาคม 2560 จาก http://research.trf.or.th/node/3426
Biddulph, L. G. (1954). Athletic Achievement and the Personal and Social Adjustment of High School Boys. Research Quarterly. American Association for Health, Physical Education and Recreation, 25(1), 1–7.
Boston University Medical Center (2013). Aerobic fitness and hormones predict recognition memory in young adults. Retrieved April 9, 2018 from http://www.eurekalert.org/pub_releases/2013-12/bumc-afa120213.php
Schendel, J. (1965). Psychological Differences between Athletes and Nonparticipants in Athletics at Three Educational Levels. Research Quarterly. American Association for Health, Physical Education and Recreation, 36(1), 52–67.
U.S. Department of Health and Human Services. (2008). 2008 Physical Activity Guideline for Americans. Retrieved June 9, 2018 from https://health.gov/paguidelines/pdf/paguide.pdf