MARKETING MIX FACTORS AND SERVICE QUALITY FACTORS THAT AFFECT THE DECISION TO PURCHASE PRODUCTS VIA TIKTOK
Main Article Content
Abstract
This research aimed to 1) study the level of marketing mix factors and service quality and the decision to purchase products via TikTok online application, and 2) study the marketing mix factors and service quality affecting the decision to purchase products through TikTok. The data were collected using a questionnaire. The sample group used in the research was 400 people with experience purchasing products via TikTok. The statistics used for data analysis were percentage, frequency, mean, standard deviation, and enter multiple regression analysis. The research results found that: 1) The level of marketing mix factors and service quality and the decision to purchase products via TikTok was at a high level. 2) The marketing mix factors affecting the decision to purchase products via TikTok online application were ranked from the highest to the lowest as follows: product factors, price factors, promotion factors, personal factors, process factors, distribution channel factors, and physical characteristics factors. All factors significantly affected the decision to purchase products via TikTok with a statistical level of .05. The service quality factors affecting the decision to purchase products via TikTok were ranked from the highest to the lowest as follows: speed of response to customers, warranty factors, trust factors, and tangible service factors. Lastly, caring for individual users significantly affected the decision to purchase products online via TikTok at the level of .05.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของมหาวิทยาลัยราชภัฏนครปฐม
เนื้อหาของแต่ละบทความเป็นทัศนะของผู้เขียน ซึ่งที่ปรึกษา บรรณาธิการ กองบรรณาธิการ และคณะกรรมการบริหารวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
References
การตลาดวันละตอน. (2565). สรุปข้อมูลผู้ใช้งาน TikTok Data Stat & Insight 2022. ค้นเมื่อ 24 ตุลาคม 2566, จาก https://www.everydaymarketing.co/trend-insight/tiktok-data-stat-and-insight-thailand-2022-we-are-social/
เกตุวดี สมบูรณ์ทวี. (2561, มกราคม-มิถุนายน). ปัจจัยด้านคุณภาพการบริการที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อซ้ำผลิตภัณฑ์อาหารผ่านผู้ให้บริการ Food Panda Application. วารสารการจัดการสมัยใหม่, 16 (1), 153-162.
คุณัญญา เนียมฤทธิ์. (2565). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด บัณทิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ชมพูนุช น้อยหลี. (2562). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจซื้อเสื้อผ้าจากร้านค้าออนไลน์. วิทยานิพนธ์เศรษฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาเศรษฐศาสตร์ธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยหอการไทย.
ธานินทร์ ศิลป์จารุ. (2563). การวิจัยและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติด้วย SPSS และ AMOS. กรุงเทพฯ: บิสซิเนสอาร์แอนด์ดี.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น (พิมพ์ครั้งที่ 9). กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ปรางศิริ นิลสอน. (2561). การตัดสินใจซื้อสินค้าออนไลน์ผ่านแอปพลิเคชันของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. ค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2567, จาก https://mmm.ru.ac.th/MMM/IS/vlt15-2/6114993280.pdf
พีพีทีวี ออนไลน์. (2566). TikTok มุ่งหน้าเป็นแฟลตฟอร์ม Shoppertainment ควบรวมคอนเทนต์ และคอมเมิร์ซ. ค้นเมื่อ 16 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.pptvhd36.com/wealth/stock-investment/200304
รัตนชาติ พันธ์พงษ์วงศ์. (2565). ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจสั่งซื้อสินค้าผ่านทางแอพพลิเคชั่นช้อปปี้ของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร ในช่วงสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด-19. สารนิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการตลาด บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ศิริวรรณ เสรีรัตน์. (2552). การบริหารการตลาด. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา.
สุรัติ กอบการุณ. (2558). อิทธิพลของคุณภาพการให้บริการ การใช้งาน ความพึงพอใจ ต่อประโยชน์สุทธิของผู้ใช้งานและแอปพลิเคชันในการจองโรงแรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยเอกชน ในกรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
Cochran, W. G. (1977). Sampling technique (3rd ed.). New York: Wiley.