PURCHASING BEHAVIOR AND INFLUECNCE OF MARKETING MIX FOR ANTIGEN TEST KIT UNDER PERSPECTIVES OF GENERATION B X Y Z

Main Article Content

สวรส ศรีสุตโต Sawaros Srisutto
สิริพันธ์ วงศ์อินทวัง Siriphan Wonginthavung

Abstract

This research aims to: 1) study consumers’ purchasing behaviors of the antigen test kit (ATK); 2) study the relationship between generations and purchasing behavior of the antigen test kit (ATK); and 3) compare the relationship between generations and the influence level of marketing mix affecting the purchasing decisions of the antigen test kit (ATK). A questionnaire was used to collect data from the sample group. There were 384 respondents consisting of baby boomers, generation X, generation Y, and generation Z, which were equally derived.


The research results found that: 1) most of the samples gathered information about the antigen test kit (ATK) from websites. They purchased the ATK by themselves and paid in cash. The number of purchasing was 3-6 kits per month. The reason for purchasing was for Covid-19 protection. Most of them purchased the “SARS-CoV-2 antigen test kit (GICA)”. The person influencing the purchase was themselves. 2) Generations showed a relationship with purchasing behaviors at the statistically significant level of .05 in the aspects of information source searching, amount of purchasing, brand selection, and payment method. While purchasers, purchasing reasons, and purchasing influencers had no relationship with generations. 3) The samples from each generation assessed the marketing mix in terms of place and price affecting the decision to purchase the ATK differently at the statistically significant level of .01. By contrast, product and promotion had no different influence on the decisions to purchase the ATK.

Article Details

Section
Research Article

References

กนกกาญจน์ โชคกาญจนวัฒน์ และอิทธิกร ขําเดช. (2555). ปัจจัยทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกใช้บริการร้านขายยา ในเขตพระนครศรีอยุธยา. วารสารการเงิน การลงทุน การตลาดและการบริหารธุรกิจ, 2 (3), 156-172.

กองควบคุมเครื่องมือแพทย์ สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2564). รายชื่อชุดตรวจสำหรับ COVID-19 ประเภท Rapid Test Antigen หรือ Antigen Test Kits แบบตรวจแอนติเจนด้วยตนเอง (COVID-19 Antigen Test Self-Test Kits) ที่ได้รับการอนุญาตให้ผลิต/นำเข้า. ค้นเมื่อ 20 กันยายน 2564, จาก https://www.fda.moph.go.th/sites/Medical/SitePages/test_kit_covid19.aspx

กองเผยแพร่และประชาสัมพันธ์ สำนักงานคุ้มครองผู้บริโภค. (2564). ซื้อชุดตรวจโควิดออนไลน์ เสี่ยงได้ของไม่มีคุณภาพ. ค้นเมื่อ 15 ตุลาคม 2564, จาก https://www.ocpb.go.th/download/article/article_20211209135719.pdf

กุลธิดา เปรมปราคิน. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อยารักษาโรคในร้านขายยา แผนปัจจุบันทั่วไป ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. การค้นคว้าอิสระบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ฉัตยาพร เสมอใจ. (2550). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ซีเอ็ดยูเคชั่น.

ฐิติวัฒน์ พันธ์รุ่งจิตติ. (2559). พฤติกรรมและปัจจัยด้านส่วนประสมทางการตลาดที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจบริโภคอาหารเสริมประเภทวิตามินและเกลือแร่ของกลุ่มเบบี้บูมเมอร์ส เจเนอเรชั่นเอ็กซ์ และเจเนอเรชั่นวาย ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล. สารนิพนธ์การจัดการมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหิดล.

ทิพวรรณ อารียวงศ์สถิตย์ และกฤษฎา มูฮัมหมัด. (2563). พฤติกรรมการซื้อและปัจจัยส่วนประสมการตลาดที่มีผลต่อการตัดสินใจซื้อยาและผลิตภัณฑ์สุขภาพจากร้านขายยาของผู้บริโภคในจังหวัด นครนายก. ใน การประชุมนำเสนอผลงานวิจัยบัณฑิตศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 15 (13 สิงหาคม หน้า 928-942). ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต.

นภวรรณ คณานุรักษ์. (2556). พฤติกรรมผู้บริโภค. กรุงเทพฯ: ซีวีแอลการพิมพ์.

นาถชิดา ธนะฐากรกุล. (2557). ปัจจัยส่วนประสมทางการตลาดของผู้บริโภคที่ส่งผลต่อร้านขายยาในอำเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการมรดกทางสถาปัตยกรรมกับการท่องเที่ยว บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศิลปากร.

มนัสวี ศรีนนท์. (2561). ทฤษฎีเจเนอเรชันกับกรอบวิธีคิด. วารสารศึกษาศาสตร์ มมร, 6 (1), 364-373.

โรงพยาบาลพริ้นซ์ สุวรรณภูมิ. (2564). ตรวจโควิดแบบ ATK กับ RT-PCR ต่างกันอย่างไร ตรวจแบบไหนดี. ค้นเมื่อ 16 ตุลาคม 2564, จาก https://www.princsuvarnabhumi.com/content-atk-rt-pcr/

สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. (2564). สธ. อนุมัติขายชุดตรวจ ATK Self-Test ผ่านร้านค้าและออนไลน์ได้. ค้นเมื่อ 30 ตุลาคม 2564, จาก https://oryor.com/%E0%B8%AD%E0%B8%A2/detail/media news/2134

เสกสรรค์ วีระสุข และวรางคณา อดิศรประเสริฐ. (2557). การศึกษาพฤติกรรมผู้บริโภคผลิตภัณฑ์เสริมอาหารประเภทวิตามินในกรุงเทพมหานคร. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 5 (1), 65-79.

อนุวัติ คูณแก้ว. (2560). สถิติเพื่อการวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

Chaney, D., Touzani, M. & Slimane, K. B. (2017). Marketing to the (new) generations: Summary and perspectives. Journal of Strategic Marketing, 5 (3),179-189.

Kotler, P. & Keller, K. (2016). Marketing management (15th ed.). Harlow, UK: Pearson Education.

Williams, K. C. & Page, R. A. (2011). Marketing to the generations. Journal of Behavioral Studies in Business, 3, 37-52.