THE EFFECT OF GUIDANCE ACTIVITIES TO THE KNOWLEDGE AND THE CASE STUDYING ABILITY OF EDUCATION STUDENTS IN NAKHON PATHOM RAJABHAT UNIVERSITY

Main Article Content

เจษฎา บุญมาโฮม JESADA BOONMAHOME
เสมา เดชะดิลก SEMA DECHADILOK
สุพัฏรา นพคุณ SUPATRA NOPAKUN
สุรางค์ มันยานนท์ SURANG MUNYANONT

Abstract

       The purposes of this research were to: 1) compare the knowledge in case studying before and after participating in guidance activities, and after participating with the set criteria of 80%; and 2) compare the case studying ability after participating in guidance activities with the set criteria of 80%. The sample group was 38 undergraduate education students of Nakhon Pathom Rajabhat University, derived by cluster random sampling. The research instruments were 1) guidance activities set, 2) a test of case studying knowledge, and 3) an evaluation form of case studying ability. The statistics used in this research were mean, standard deviation, and t–test.


       The results of the study were as follows:


  1. The knowledge in case studying after participating in guidance activities was higher than that of before with statistical significance at .05 level. The knowledge in case studying was higher than the set criteria of 80% with statistical significance at .05 level.

  2. The case studying ability of students who participated in guidance activities was higher than the set criteria of 80% with statistical significance at .05 level.

Article Details

Section
Research Article

References

กฤตวรรณ คำสม. (2559). การแนะแนวเบื้องต้น. อุดรธานี: มหาวิทยาลัยราชภัฏอุดรธานี.
กลุ่มงานยุทธศาสตร์และข้อมูลเพื่อการพัฒนาจังหวัด. (2561). แผนพัฒนาจังหวัดนครปฐม 4 ปี (พ.ศ. 2561-2564). นครปฐม: สำนักงานจังหวัดนครปฐม.
คณะกรรมการส่งเสริมการพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ. (2561). แผนพัฒนาเด็กและเยาวชนแห่งชาติ ฉบับที่ 2 พ.ศ. 2560-2564. กรุงเทพฯ: เจ. เอส. การพิมพ์.
ชานนท์ โกมลมาลย์ และคณะ. (2562). รายงานการพัฒนาเด็กและเยาวชนประจำปี 2561 เพื่อเสนอต่อกรมกิจการเด็กและเยาวชน กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์. กรุงเทพฯ: คณะสังคมสงเคราะห์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
ทัศนีย์ ภาแก้ว. (2555). การพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมเรื่องการศึกษารายกรณีนักเรียนในระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียนสำหรับครูสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จังหวัดอำนาจเจริญ. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ธัญสมร คเชนทร์เดชา, พิชญ์มณฑ์ ลีกำเนิดไทย และพัชนีพร สมานมิตร. (2559). ระบบการแนะแนวในโรงเรียน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
นพวรรณ คนึงชัยสกุล และคณะ. (2560). รายงานการวิจัยเรื่อง ผลของโปรแกรมการแนะแนวที่มีต่อความรู้และเจตคติการปฏิบัติงานแนะแนวของครูในสถานศึกษาขนาดเล็กจังหวัดนครปฐม. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
ปุณณาสา โพธิพฤกษ์, ผ่องพรรณ เกิดพิทักษ์ และประสาร มาลากุล ณ อยุธยา. (2563). การพัฒนารูปแบบการให้การปรึกษากลุ่มแบบเพื่อนช่วยเพื่อนเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะในการให้การปรึกษาแบบเพื่อนช่วยเพื่อนของนักศึกษาสาขาวิชาจิตวิทยา มหาวิทยาลัยในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารเกษมบัณฑิต, 21 (1), 77-87.
พัชราวรรณ แก้วกันทะ, วิลัยพร นุชสุธรรม และคอย ละอองอ่อน. (2563). ผลของโปรแกรมการส่งเสริมคุณลักษณะเพื่อนผู้ให้การปรึกษาตามแนวคิดจิตตปัญญาศึกษาของนักศึกษาชั้นปีที่ 2 คณะพยาบาลศาสตร์ วิทยาลัยเชียงราย. วารสารพยาบาลสาร, 47 (2), 286-296.
ยุพดี ทรัพย์เจริญ และเพ็ญนภา กุลนภาดล. (2557). ผลการปรึกษาทฤษฎีเชื่อมโยงระหว่างรุ่นต่อความสามารถในการแยกตนเองของนิสิตปริญญาตรี. วารสารพยาบาลตำรวจ, 6 (1), 12-29.
เรียม ศรีทอง. (2561). หน่วยที่ 11 การศึกษานักเรียนรายกรณีในงานแนะแนวระดับมัธยมศึกษา ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการแนะแนวในระดับมัธยมศึกษา (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
วัลภา สบายยิ่ง. (2561). การพัฒนาชุดกิจกรรมแนะแนวเพื่อส่งเสริมทักษะด้านความร่วมมือ การทำงานเป็นทีม และภาวะผู้นำของผู้นำชมรมนักศึกษามหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. Veridian E-Journal, Silpakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ, 11 (3), 420-442.
วิภา เกตุเทพา. (2561). หน่วยที่ 12 การจัดกิจกรรมแนะแนวในคาบเรียนระดับมัธยมศึกษา ใน เอกสารการสอนชุดวิชาการแนะแนวในระดับมัธยมศึกษา (ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 2). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
ศิริภิญญา ตระกูลรัมย์ และขัตติยา ยืนยง. (2563). การศึกษารายกรณีของเด็กและวัยรุ่น. วารสารวิชาการศรีปทุม ชลบุรี, 16 (3), 155-164.
สมพงษ์ จิตระดับ. (2560, มกราคม 6). เด็กไทยวันนี้. มติชนออนไลน์. ค้นเมื่อ 9 มกราคม 2563, จาก www.matichon.co.th/news/418603
สมร ทองดี และปราณี รามสูต. (2555). หน่วยที่ 9 แนวคิดในการพัฒนากิจกรรมแนะแนว ใน ประมวลสาระชุดวิชาการพัฒนาเครื่องมือและกิจกรรมแนะแนวและการปรึกษาเชิงจิตวิทยา. นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.
สมาคมแนะแนวแห่งประเทศไทย. (2563). เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรการฝึกอบรมครูประจำชั้นเพื่อเป็นนักจิตวิทยาประจำสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน. (2561). การจัดการเรียนรู้กิจกรรมแนะแนว: 4As Model. ใน หลักสูตรการอบรมครูแนะแนวและบุคลากรทางการแนะแนว: การแนะแนวอาชีพเพื่อการมีงานทำ. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการ.
สุวัสดา คำผิว. (2553). ผลของชุดฝึกอบรมพัฒนาความรู้และทักษะการให้คำปรึกษาสำหรับครูที่ปรึกษาระดับมัธยมศึกษาในโรงเรียนขยายโอกาส. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาจิตวิทยาการศึกษาและการให้คำปรึกษา บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ไหมไทย ไชยพันธุ์. (2559). การศึกษาความรู้ ทัศนคติ และประสบการณ์ในกิจกรรมแนะแนวในโรงเรียนของนักศึกษาคณะครุศาสตร์ที่ผ่านการทำกิจกรรมแนะแนวและระบบดูแลช่วยเหลือนักเรียนนอกห้องเรียน. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 18 (3), 45-63.
Ferbert, S. E., Grififth, D. A. & Forrest, D. B. (2005). Developmental classroom guidance activities. South Carolina: Youth Light.
Muchado, J. A. (2003, February). An Investigation of the perceived need for school counseling service in primary and secondary schools in Botswana. Dissertation Abstracts International, 63 (8), 2800 A.