ความสัมพันธ์ระหว่างเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานผู้สอบบัญชีและ คุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET100
คำสำคัญ:
รายงานผู้สอบบัญชี, เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ, คุณภาพกำไรบทคัดย่อ
การเปลี่ยนแปลงรูปแบบรายงานผู้สอบบัญชีแบบใหม่ที่เพิ่มหัวข้อเรื่องสำคัญในการตรวจสอบ (Key Audit Matters: KAMs) ยังคงถูกตั้งคำถามถึงประโยชน์ของ KAMs งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะการเปิดเผย KAMs ในรายงานผู้สอบบัญชีและความสัมพันธ์ระหว่าง KAMs และคุณภาพกำไรของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่ม SET100 ในปี 2563 จำนวน 85 บริษัท ผลการศึกษาพบว่า โดยส่วนใหญ่ KAMs ที่เกี่ยวกับการรับรู้รายได้ถูกเปิดเผยมากที่สุด และถูกเปิดเผยในกลุ่มอุตสาหกรรมบริการ นอกจากนั้น ยังพบความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่าง KAMs และรายการคงค้างจากดุลยพินิจของฝ่ายบริหาร ซึ่งใช้เป็นตัวแทนอธิบายคุณภาพกำไร ผลการวิจัยจึงบอกเป็นนัยว่าการเปิดเผยจำนวนเรื่อง KAMs ที่มากขึ้นในรายงานผู้สอบบัญชีสามารถสื่อสารหรือส่งสัญญาณคุณภาพกำไรที่ต่ำลง โดยเฉพาะ KAMs ที่เกี่ยวกับการรับรู้รายได้และการรวมกิจการ
References
เกรียงไกร บุญเลิศอุทัย, ศิลปพร ศรีจั่นเพชร, และอนุวัฒน์ ภักดี. (2562). เรื่องสำคัญในการตรวจสอบบอกอะไร. วารสารวิชาชีพบัญชี, 15(1), 5-25.
จุรีรัตน์ บทเรศ, เอื้อบุญ เอกะสิงห์, และนฤนาถ ศราภัยวานิช. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณภาพกำไรกับรายงานของผู้สอบบัญชีของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 10(4), 183-197.
ชาญชัย ชัยประสิทธิ์. (2559). รายงานผู้สอบบัญชีแบบใหม่ ใครได้ประโยชน์? ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2564, จาก https://www.efinancethai.com/MoneyStrategist/MoneyStrategistMain.asp
ชาญชัย ตั้งเรือนรัตน์. (2558a). คุณค่าของรายงานผู้สอบบัญชีแบบใหม่. วารสารวิชาชีพบัญชี, 31(2), 26-44.
ชาญชัย ตั้งเรือนรัตน์. (2558b). การสื่อสารที่มากขึ้นจากรายงานผู้สอบบัญชีแบบใหม่. วารสารวิชาชีพบัญชี, 30(2), 85-97.
ชาญชัย ตั้งเรือนรัตน์. (2560). การใช้รายงานของผู้สอบบัญชีแบบใหม่: ประสบการณ์ปีแรก. วารสารวิชาชีพบัญชี, 38(3), 5-21.
ณัชชานนท์ โกมุทพุฒิพงศ์. (2557). การวัดคุณภาพกำไรเพื่อการวิเคราะห์หลักทรัพย์. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 36(1), 1-18.
ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. (2564). SET Index หรือดัชนีราคาหุ้นในตลาดหลักทรัพย์ฯ. ค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2564, จาก https://www.setinvestnow.com/th/stock/what-is-set-index.
ธันยกร จันทร์สาส์น. (2556). คุณภาพกำไรของบริษัทในกลุ่มอาหารและเครื่องดื่มในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย: นัยจากรายการคงค้างที่ควบคุมได้. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยกรุงเทพ, 12(2), 29-44.
เปรมารัช วิลาลัย, พัทธนันท์ เพชรเชิดชู, และศิริเดช คำสุพรหม. (2563). การจัดการกำไรผ่านการใช้ดุลยพินิจในการสร้างรายการทางธุรกิจ และการจัดการกำไรผ่านรายการคงค้าง กับความสามารถในการทำกำไรในอนาคต. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 12(3), 83-96.
ลิษา สวาทยานนท์. (2551). Positive accounting theory และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง. วารสารวิชาชีพบัญชี, 11(4), 85-95.
ศศิประภา สมัครเขตการพล. (2562). เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ คุณภาพการสอบบัญชี และการจัดการกำไรของบริษัทที่เสนอขายหุ้นใหม่แก่ประชาชนทั่วไปเป็นครั้งแรกในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารสุทธิปริทัศน์, 33(4), 210-225.
ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2560). เรื่องสำคัญในการตรวจสอบในหน้ารายงานผู้สอบบัญชีกับการตอบสนองของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาชีพบัญชี, 38(2), 22-37.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. (2559). มาตรฐานการสอบบัญชี รหัส 701 การสื่อสารเรื่องสำคัญในการตรวจสอบในรายงานของผู้สอบบัญชี.ค้นเมื่อ 1 มกราคม 2564, จาก https://www.efinancethai.com/MoneyStrategist/MoneyStrategistMain.
สุนีย์รัตน์ วุฒิจินดานนท์ และ ปัญญา อิสระวรวาณิช. (2562). รายงานของผู้สอบบัญชีแบบใหม่: ประสบการณ์ปีต่อมาในประเทศไทย. จุฬาลงกรณ์ธุรกิจปริทัศน์, 43(4), 24-53.
อลิษา ประสบผล และการุณ สุขสองห้อง. (2562). การบริหารกำไรแบบเชิงฉกฉวยโอกาส หรือเชิงผลประโยชน์ กรณีศึกษาบริษัทในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยอีสเทิร์นเอเชีย, 9(2), 247- 259.
เอื้อบุญ เอกะสิงห์ และ วีระพงษ์ กิติวงค์. (2562). เรื่องสำคัญในการตรวจสอบ: สัญญาณเตือนของการแก้ไขงบการเงินในปีถัดไป. วารสารวิชาชีพบัญชี, 48(4), 52-72.
Bedard, J., Gonthier-Besacier, N., & Schatt, A. (2018). Consequences of expanded audit reports: Evidence from the justification of assessments in France. A Journal of Practice and Theory, 38(3), 23-45.
Czerney, K., Schmidt, J. J. & Thompson, A. M. (2019). Do investor respond to explanatory language included in unqualified audit reports? Contemporary Accounting Research, 36(1), 198-229.
Dechow, P. M., Sloan, R. G., & Sweeney, A. P. (1995). Detecting earnings management. Accounting Review, 70(1), 193-225.
Ernst & Young Globle Limited (EY). (2016). The new auditor’s report: How the biggest revolution in auditing will affect you. Retrieved January 1, 2021, from http://www.ey.com/Publication/vwLUAssets/ey-eye-november-2016.
Hair, J. F., Black, W.C., Babin, B. J., & Anderson, R. E. (2010). Multivariate data analysis. New Jersey : Pearson Prentice Hall.
Jensen, M. C., & Mecking, W. H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs, and capital structure. Journal of Financial Economics, (3), 73-109.
Jones, J. J. (1991). Earnings management during import relief investigation. Journal of Accounting Research, 29(2), 193-228.
Kitiwong, W. & Sarapaivanich, N. (2020). Consequences of the implementation of expanded audit reports with key audit matters (KAMs) on audit quality. Managerial Auditing Journal, 35(8), 1095-1119.
Klueber, J., Gold, A., & Pott, C. (2018). Do key audit matters impact financial reporting behavior? Working Paper. DOI: dx.doi.org/10.2139/ssrn.3210475
KPMG International Cooperative (KPMG). (2016). Beyond auditor’s report. Retrieved January 1, 2021, from https://assets.kpmg.com/content/dam/kpmg/pdf/2016/03/Beyond-Auditor-Report-Jan2016-Thai.
Reid, L.C., Carcello, J.V., Li, C., & Neal, T.L. (2017). Impact of auditor and audit committee report changes on audit quality and costs: Evidence from the United Kingdom. Working Paper, DOI:10.2139/ssrn.2647507.
Wei, Y., Fargher, N., & Carson, E. (2017). Benefits and costs of the enhanced auditor’s report: Early evidence from Australia. Working paper. DOI:10.1111/1911-3846.12091
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว