ผลกระทบของทักษะนักบัญชีคุณภาพที่มีต่อประสิทธิภาพในการทำงาน ของนักบัญชีองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
คำสำคัญ:
ทักษะของนักบัญชีคุณภาพ, ประสิทธิภาพในการทำงาน, นักบัญชีองค์การบริหารส่วนตำบลบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลกระทบของทักษะนักบัญชีคุณภาพที่มีต่อประสิทธิภาพในการทำงานของนักบัญชีองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ โดยทำการเก็บรวบรวมข้อมูล
จากนักบัญชีขององค์การบริหารส่วนตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน 167 คน และใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์ความถดถอยแบบพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า 1. ทักษะนักบัญชีคุณภาพ ด้านทักษะในการสื่อสารและการทำงานร่วมกับผู้อื่น มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกต่อประสิทธิภาพในการทำงาน โดยรวม 2. ทักษะนักบัญชีคุณภาพ ด้านทักษะการจัดการทางธุรกิจและองค์กร มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพในการทำงาน โดยรวม 3. ทักษะนักบัญชีคุณภาพ ทักษะด้านสติปัญญา ด้านเทคนิคทั่วไปและเทคนิคเฉพาะเกี่ยวกับวิชาชีพและทักษะเฉพาะบุคคล ไม่มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพในการทำงาน โดยรวม ดังนั้น ผู้บริหารองค์การบริหารส่วนตำบล ควรให้ความสำคัญในเรื่อง ของทักษะการทำงานของนักบัญชีเพื่อให้นักบัญชีสามารถนำปัจจัยเหล่านี้มีใช้ในการทำงานให้กับองค์กรซึ่ง จะนำไปสู่การดำเนินงานที่มีประสิทธิภาพและบรรลุวัตถุประสงค์ขององค์กรได้อย่างมีประสิทธิภาพต่อไปในอนาคต
References
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น. (2562). ข้อมูลองค์การบริหารส่วนตำบล. ค้นเมื่อ 2 มีนาคม 2562, จาก http://www.dla.go.th
กาญจนา กินรี. (2553). ปัญหาการบริหารงบประมาณในองค์การบริหารส่วนตำบลจังหวัดมหาสารคาม. วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตร์มหาบัณฑิต คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
จิรานุช ยวงทอง. (2556). ผลกระทบของความกดดันในวิชาชีพที่มีต่อประสิทธิภาพในการทำงานของผู้สอบบัญชีในจังหวัดขอนแก่น. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ชลิดา ลิ้นจี่. (2557). ทักษะวิชาชีพของนักบัญชีสำนักงานบัญชีคุณภาพในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต กรุงเทพฯ : มหาวิทยาลัยกรุงเทพธนบุรี.
นพพล สุรนัคครินทร์. (2548). การนำหลักธรรมาภิบาลมาปรับใช้ในองค์กรการบริหารส่วนตำบลตามทัศนคติของประชาชนจังหวัดเชียงใหม่. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสนประศาสตร์ คณะรัฐศาสตร์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
นันทนา ภูขมัง สุวรรณ หวังเจริญเดช และนิกร ยาสมร. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะการปฏิบัติงานทางการบัญชีกับความสำเร็จในการปฏิบัติงานของนักบัญชีสถานศึกษาสังกัดสำนักงานคณะกรรมการอาชีวศึกษา. วารสารการบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(4), 147-156.
เบญญาภา ยืนยง. (2560). สมรรถนะของนักบัญชีและมาตรฐานการจัดทำบัญชีที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลการดำเนินงานในงานราชการ, การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ มหาวิทยาลัยศรีปทุม, ครั้งที่ 12 ปี 2560
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ : สุวีริยาสาส์น.
บุษยา วัฒนะงาม. (2556). ผลกระทบของความรู้ความสามารถทางการบัญชีและการสนับสนุนของผู้บริหารที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงานของนักบัญชีองค์การบริหารส่วนตำบลในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือตอนล่าง. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ปริยากร ปริโยทัยและสุภัทรษร ทวีจันทร์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะทางวิชาชีพบัญชีกับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีในสถานศึกษา สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การอาชีวศึกษาในประเทศไทย. Journal of Ratchathani Innovative Social Sciences, 1(2), 9 - 23.
พูลสิน กลิ่นประทุม. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างทักษะวิชาชีพกับความสำเร็จในการทำงานของอาจารย์ผู้สอนวิชาการบัญชีในมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 8(1), 137 - 149.
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช. (2559). ประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ : อักษร.
วิทยา จั่นคล้าย. (2554). จากนักบัญชี สู่ CEO. วารสารนักบริหาร, 31(4), 192 -196.
สภาวิชาชีพบัญชีในพระบรมราชูปถัมภ์. มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับ ผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 3 เรื่อง การพัฒนาวิชาชีพระยะเริ่มแรก–ทักษะทางวิชาชีพ ฉบับปรับปรุง มกราคม 2557. กรุงเทพฯ : สภาวิชาชีพ.
สมใจ ลักษณะ. (2549). การพัฒนาประสิทธิภาพในการทำงาน. กรุงเทพฯ : สถาบันราชภัฎสวนสุนันทา.
สมพงษ์ เกษมสิน. (2549). การบริหาร. กรุงเทพฯ : นกการพิมพ์.
ไอลดา ศรีมานนท์. (2561). ความสัมพันธ์ระหว่างความเชี่ยวชาญทางการบัญชีสมัยใหม่กับประสิทธิภาพการปฏิบัติงานของนักบัญชีองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วิทยานิพนธ์ปริญญาบัญชีมหาบัณฑิต คณะบัญชีและการจัดการ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Aaker, D. A., Kumar, V., & Day, G. S. (2001). Marketing Research (7th ed.). New York : John Wiley & Sons.
Black, K. (2006). Business Statistics For Contemporary Ecision Making. USA : John Wiley and Sons.
Hair, J. F., Black, W. C., & Anderson, R. E. (2014). Multivariate Data Analysis. (6th ed.). New Jersey : Pearson.
Rovinelli, R. J. & Hambleton, R. K. (1976). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Paper presented at the annual meeting of the American Educational Research Association : California. April 19 –23, 1976). Retrieved on Feb 3, 2019, from https://files.eric.ed.gov/fultlext/ED121845.pdf.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2020 วารสารการบัญชีและการจัดการ

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว