ความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการบริหารลูกหนี้กับผลการดำเนินงาน ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
คำสำคัญ:
ประสิทธิภาพการบริหารลูกหนี้, ผลการดำเนินงาน, ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการบริหารลูกหนี้กับผลการดำเนินงานของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้บริหารสาขาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย จำนวน 156 คน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน การวิเคราะห์สหสัมพันธ์พหุคูณ และการวิเคราะห์การถดถอยพหุคูณ ผลการวิจัย พบว่า
ประสิทธิภาพการบริหารลูกหนี้ มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับผลการดำเนินงาน ดังนั้น ผู้บริหารสาขาธนาคารควรให้ความสำคัญเกี่ยวกับประสิทธิภาพการบริหารลูกหนี้ โดยเฉพาะด้านภูมิสังคมของลูกหนี้ ด้านความสามารถ ด้านทักษะการบูรณาการในการพัฒนาคุณภาพหนี้ เพื่อให้เกิดประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานธนาคาร อันจะเกื้อหนุนให้เกิดการมีผลการดำเนินงานที่ดีในอนาคต
References
ชนินทร สุภา. (2560). ผลกระทบของการพัฒนาความรู้ความสามารถของพนักงานที่มีต่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของโรงพยาบาลเอกชนในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต คณะการบัญชีและการจัดการ: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. (2560). แผนธุรกิจฝ่ายสินเชื่อ (Business Plan) ปีบัญชี 2560. ค้นเมื่อ 4 ธันวาคม 2561, จาก https://www.baac.or.th
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร. (2560). ข้อมูลธนาคาร. ค้นเมื่อ 7 พฤศจิกายน 2561. จาก https://www.baac.or.th/รู้จัก ธ.ก.ส.
ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2560). ผลการดำเนินงานของธนาคารพาณิชย์ปี 2560. ค้นเมื่อ 4 ธันวาคม 2561. จาก https://www.bot.or.th/Thai/FinancialInstitutions/Publications/FIProformance_Press/n1161t.pdf
ธีรวัฒน์ พสุสิริโรจน์ และ ธีระวัฒน์ จันทึก. (2558). การประเมินความสำเร็จโครงการสินเชื่อธนาคารประชาชนของธนาคารออมสิน Assessment Successful to Bank Loan for Population Project to Government Savings Bank. วารสารราชมงคลล้านนา, 3(2), 43–48.
นพดล ร่มโพธิ์. (2552). การประเมินความสำเร็จของระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานองค์กร. วารสารบริหารธุรกิจ, 32(122), 4–7.
นิรมิต เทียมทัน. (2555). Balanced Scorecard และยุทธศาสตร์การบริหารจัดการ. กรุงเทพฯ: ปัญญาชน ดิสทริบิวเตอร์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2556). การวิจัยเบื้องต้น. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
ปรารถนา เชียงส่ง. (2561). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการบริหารจัดการลูกหนี้อย่างมีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของธุรกิจเช่าซื้อในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย. วารสารสังคมศาสตร์วิชาการ, 11(3), 656–663.
พรพิชิต โพธิ์ศรี. (2559). ผลกระทบของกลยุทธ์เทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ที่มีต่อผลการดำเนินงานของธุรกิจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในประเทศไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะการบัญชีและการจัดการ: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ภัทรา กล่ำแสง. (2553). การวิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างราคาหลักทรัพย์กับประสิทธิภาพในการบริหารลูกหนี้การค้ากรณีศึกษา บริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย กลุ่มธุรกิจการเกษตร. วิทยานิพนธ์ บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต คณะบริหารธุรกิจ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.
รัฐนันท์ พงศ์วิริทธิ์ธร และ สุรชัย อุตมอ่าง. (2554). การบริหารความได้เปรียบทางการแข่งขันเพื่อความสำเร็จในการดำเนินงานของธุรกิจ SMEs ในเขตภาคเหนือของประเทศไทย. วารสารวิทยาการจัดการ, 28(1), 49-61.
วิชชาภรณ์ เลิศสุบินรักษ์. (2561). ผลกระทบของความเป็นเลิศในการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องที่มีต่อประสิทธิภาพการทำงาน ของบุคลากรการประปาส่วนภูมิภาคเขต 8. วิทยานิพนธ์ปริญญาการจัดการมหาบัณฑิต คณะการบัญชีและการจัดการ: มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
Aaker, D. A., Kumar, V. and Day, G. S. (2001). Marketing Research (7th ed.). New York: John Wiley & Sons.
Black, K. (2006). Business Statistics for Contemporary. USA: John Wiley & Sons.
Nunnally, J.C. and Bernstein, I. H. (1994). Psychometric Theory. New York: McGraw-Hill.
Rovinelli, R. J. and Hambleton, R. K. (1977). On the Use of Content Specialists in the Assessment of Criterion - Referenced Test Item Validity. Journal of Educational Research, 5(1), 49–60.
Tang, C. (2015). Accessed External Knowledge, Centrality of Intra-team Knowledge Networks, and R&D Employee Creativity. Management of External Resources in R&D, 46(s3), 992–1005.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการบัญชีและการจัดการ
ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับมหาวิทยาลัยมหาสารคาม และคณาจารย์ท่านอื่นๆในมหาวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว