ความสัมพันธ์ระหว่างศักยภาพทุนมนุษย์กับประสิทธิภาพการดำเนินงาน ของภาคอุตสาหกรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ

ผู้แต่ง

  • สุกัญญา ดวงอุปมา คณะเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์
  • กัลยรัศมิ์ ทิณรัตน์ คณะเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

คำสำคัญ:

ศักยภาพทุนมนุษย์, ประสิทธิภาพการดำเนินงาน

บทคัดย่อ

งานวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างศักยภาพทุนมนุษย์ กับประสิทธิภาพการดำเนินงานของภาคอุตสาหกรรม
ในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยได้แก่ ผู้บริหารภาคอุตสาหกรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ จำนวน  300 คน ได้มาโดยการสุ่มตัวอย่างแบบง่าย เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล คือ แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ได้แก่
การวิเคราะห์สหสัมพันธ์แบบพหุคูณและการวิเคราะห์การถดถอยแบบพหุคูณ ซึ่งผลการศึกษาพบว่า  ศักยภาพทุนมนุษย์ ด้านความรู้ 
ด้านอารมณ์  และด้านวัฒนธรรม  มีความสัมพันธ์และผลกระทบเชิงบวกกับประสิทธิภาพการดำเนินงานอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นอุตสาหกรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ควรมุ่งเน้นในการพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ให้เกิดประสิทธิภาพในการดำเนินงานต่อไป 

Author Biography

สุกัญญา ดวงอุปมา, คณะเทคโนโลยีสังคม มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์

62/1 ถนนเกษตรสมบูรณ์ ตำบล กาฬสินธุ์ อำเภอเมือง จังหวัดกาฬสินธุ์ 46000

081-9642221 Sukanya.joo@hotmail.com

References

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2557). รายงานสถานการณ์อุตสาหกรรม. ค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2557, จาก https://www.industry.go.th.

กระทรวงอุตสาหกรรม. (2558). แผนยุทธศาสตร์ กระทรวงอุตสาหกรรม พ.ศ. 2559-2564. ค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2558, จาก https://www.industry.go.th/psd.

กระทรวงแรงงาน. (2557). สรุปสภาวะการเศรษฐกิจแรงงาน สิงหาคม 2557. ค้นเมื่อ 3 กันยายน 2557, จาก https://www.mol.go.th.

กรมโรงงานอุตสาหกรรม. (2557). รายชื่ออุตสาหกรรมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ค้นเมื่อ 9 พฤศจิกายน 2557, จาก https://www.diw.go.th/hawk/.

จีระ หงส์ลดารมภ์.(2554). 8K's+5K': ทุนมนุษย์คนไทยรองรับประชาคมอาเซียน. ค้นเมื่อ 22 สิงหาคม 2557, จาก https://www.gotoknow.org.

จิระพงค์ เรืองกุน. (2555). แนวทางการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์โดยใช้หลักสมรรถนะ : ประสบการณ์จากบริษัทชั้นนำ. ค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2558, จาก https://journal.fms.psu.ac.th/.

ดรุณ ไคร้ศรี. (2551). การพัฒนาศักยภาพ. ค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2557, จาก https://www.cdd.go.th/creat/november47/4711091.htm.

พสุ เดชะรินทร์.(2544). เส้นทางจากกลยุทธ์สู่การปฏิบัติด้วย Balanced Scorecard และ Key Performance Indicators. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

พสุ เดชะรินทร์. (2548). Balanced scorecard รู้ลึกในการปฏิบัติ. กรุงเทพฯ : คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชนม์ณัฐชา กังวานศุภพันธ์. (2557). ทุนมนุษย์-ปัจจัยเร่งการเป็นผู้ประกอบการระหว่างประเทศในยุคการค้าเสรีอาเซียน. วารสารบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 37 (142) . ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2558. จาก https://www.jba.tbs.tu.ac.th.

ชนงกรณ์ กุณฑลบุตร. (2557). หลักการจัดการ องค์การและการจัดการสมัยใหม่. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ :จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ชลธิชา มธุรเมธา. (2557). ความพร้อมด้านทรัพยากรมนุษย์ การมุ่งเน้นตลาด และความสามารถขององค์การ: สร้างความเป็นนานาชาติของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในประเทศไทย– ตามแนวคิดฐานทรัพยากร.วารสารบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 37(144).

ค้นเมื่อ 20 มกราคม 2558, จาก https://www.jba.tbs.tu.ac.th .

ทนงศักดิ์ โสวจัสสตากุล. (2552). ปัจจัยของการบริหารทรัพยากรมนุษย์ส่งผลต่อความสำเร็จในการปฏิบัติงานระบบสารสนเทศของสถาบันการศึกษา.กรุงเทพฯ: คณะครุศาสตร์อุตสาหกรรม สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง.

นิสดารก์ เวชยานนท์. (2551). มิติใหม่ในการบริหารทุนมนุษย์ : บทความวิชาการ.กรุงเทพฯ: คณะรัฐประศาสนศาสตร์

สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

เนตร์พัณณา ยาวิราช. (2556). การจัดการสมัยใหม่. (พิมพ์ครั้งที่ 8) (ฉบับปรับปรุงใหม่). กรุงเทพฯ : ทริปเพิ้ลกรุ๊ป.

วรรณภา ลือกิตินันท์. (2557). แนวทางการสร้างองค์กรสุขภาวะในบริษัทข้ามชาติ:กรณีศึกษาบริษัทอุตสาหกรรมการผลิตในภาคตะวันออก. วารสารวิทยาการจัดการ, 31 (1) . ค้นเมื่อ 17 กุมภาพันธ์ 2558 .จาก https://journal.fms.psu.ac.th/index.php/

ศศิวิมล แสงสุวรรณ อนิรุทธ์ ผงคลี และอัจฉริยา อิสสระไพบูลย. (2556). ผลกระทบของกลยุทธ์การพัฒนาทุนมนุษย์สมัยใหม่ที่มีต่อประสิทธิภาพการดำเนินงานของธุรกิจโรงแรมในประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม. 32 (6) ,

ค้นเมื่อ 9 กุมภาพันธ์ 2557, จาก https://chonlinet.lib.buu.ac.th/opac/servlet/SimpleSearch.

สรพล บูรณกูล. (2552). ความสามารถและวิธีการของการจัดการนวัตกรรมสำหรับอุตสาหกรรมไทย : ศึกษาเฉพาะอุตสาหกรรมการผลิตสิ่งทอสิ่งถักขนาดกลางและขนาดย่อม. กรุงเทพมหานคร : สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.). ค้นเมื่อ 5 มีนาคม 2557, จาก https://www.tnrr.in.th/2558/

สานิตย์ หนูนิล. (2556). การพัฒนาจริยธรรมในองค์การผ่านกระบวนการบริหารทรัพยากรมนุษย์. จากวารสารมหาวิทยาลัยศิลปากร ฉบับภาษาไทย สาขาสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศิลปะ . 33(1), ค้นเมื่อ 7 มีนาคม 2557 จาก https://www.tci-thaijo.org.

อเนก ทรรศนาการ. (2555). ทุนมนุษย์” แกนกลางทุนทั้งปวง. ค้นเมื่อ 8 มีนาคม 2557, จาก https://chanayus.blogspot.com/2011/10/blog-post_01.html.

Aaker, D. A. Kumar, V., & Day, G. S. (2001). Marketing research. New York : John Wiley & Son.

Black, K. (2006). Business statistics: contemporary decision making. (4thed). USA : John Wiley & Son :

Downloads

เผยแพร่แล้ว

03/30/2018

How to Cite

ดวงอุปมา ส., & ทิณรัตน์ ก. . . . . (2018). ความสัมพันธ์ระหว่างศักยภาพทุนมนุษย์กับประสิทธิภาพการดำเนินงาน ของภาคอุตสาหกรรมในเขตภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. วารสารการบัญชีและการจัดการ, 9(1), 12–23. สืบค้น จาก https://so02.tci-thaijo.org/index.php/mbs/article/view/240708